|
หน้าบ้าน
|
อีสานจุฬาฯ
|
มูนมังอีสาน
|
ม่วนซื่นโฮแซว
|
ปลาร้านอกไห
|
กระดานข่าว
|
แมลงแห่งอีสาน
|
อาหารแห่งอีสาน
|
สมุดเยี่ยม
|
ประวัติชมรม
ตราชมรม
วัตถุประสงค์ชมรม
วิสัยทัศน์ชมรม
ทำเนียบประธานชมรม
โครงสร้างการบริหาร
คณะกรรมการชมรม
กิจกรรมชมรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวสารจากชมรมฯ
Hot Short News
คลังภาพกิจกรรมชมรม
แผนที่ชมรมฯ
ชมรมอีสาน เพื่อนบ้าน
ฮีตสิบสองคองสิบสี่
เรือนสามน้ำสี่
ผญาอีสาน
ดนตรีอีสาน
ฟ้อนรำพื้นบ้านอีสาน
นิทาน
การละเล่น
คำทวย
กลอนอีสาน-ผญา
ประเพณีอีสาน
ฟังเพลงโปงลาง
ดูวีดีโอม่วนๆ
ฟังลายเแคนเฒ่าเก่า
ร้องคาราโอเกะ
ขอเพลงคาราโอเกะ
ภาษาอีสาน
จังหวัดในอีสาน
ของแซบอีสาน
วิถีอีสาน
นิทานพื้นบ้าน
นิทานก้อม
ห้องอักษรไทน้อย
ห้องอักษรธรรมอีสาน
โสเหล่สภาไนบักขามคั่ว
ห้องโสกันฉันพี่น้อง
ห้องลายเพลงพื้นบ้านอีสาน
ห้องอักษรไทน้อย
ห้องอักษรธรรมอีสาน
ประเพณีอีสาน
บุญผะเหวด
• ความเป็นมา-มูลเหตุพิธีกรรม
• ช่วงเวลา-การเตรียมงาน
• พิธีกรรมในงานบุญผะเหวด
• เวสสันดรชาดก 13 กัณฑ์
• สรุปอานิสงส์เวสสันดรชาดก
บุญบั้งไฟ
• ความเป็นมา-มูลเหตุพิธีกรรม
• ช่วงเวลา-ลักษณะพิธีกรรม
• วันสุกดิบ-วันโฮม
• วันจุดบั้งไฟ
• การนำรอยไฟ
• บั้งไฟ
• ส่วนประกอบบั้งไฟ
• การกระทุ้งบั้งไฟ
• การไขรู-เจาะรูเดินไฟ
• การติดหางบั้งไฟ-เอ้บั้งไฟ
• การเซิ้งบั้งไฟ-ตัวอย่าง(1)
• กาพย์เซิ้งบั้งไฟ(2)
• กาพย์เซิ้งบั้งไฟ(3)
• ค้างบั้งไฟ-การล้างบั้งไฟ
• การร้อยสายชนวน
แห่ปราสาทเผิ้ง
..
ล็อกอินเข้าระบบ
ชื่อ ::
รหัสผ่าน::
*จำสถานะ
ลืม password
Login ไม่ได้
สมัครสมาชิก Website
ทำไมต้องเป็นสมาชิก
สมาชิกทั้งหมด
: 4,475 คน
ล่าสุด:
Gim
เมื่อ: 27 ก.พ. 2568
ออนไลน์ทั้งหมด 16 คน
สมาชิก 0 คน
ขาจร 16 คน
ออนไลน์พร้อมกันสูงสุด
ทั้งหมด: 1174 คน
เมื่อ12 ม.ค. 2567 01:03
สมาชิก: 17 คน
เมื่อ03 มี.ค. 2553 14:41
(ข้อมูลระยะเวลา 5 นาที)
Hi Record Day
เยี่ยมชม: 70,848
คลิกเปิด: 71,803
เมื่อ 27 พ.ค. 2563
วันนี้
เยี่ยมชม: 141
คลิกเปิด: 1,171
เมื่อวาน
เยี่ยมชม: 8,725
คลิกเปิด: 13,626
เดือนนี้
เยี่ยมชม: 266,993
คลิกเปิด: 284,523
เดือนที่แล้ว
เยี่ยมชม: 382,886
คลิกเปิด: 393,155
3 มี.ค.2550 - ปัจจุบัน
เยี่ยมชม: 80,740,850
คลิกเปิด: 96,621,718
เว็บไซต์เพื่อนบ้าน
หน่วยงานในจุฬาฯ
ธาตุพนมดอทคอม
อุดรธานีดอทคอม
ชมรมอีสาน เพื่อนบ้าน
ธรรมศาสตร์
ลาดกระบัง
บางมด
พระนครเหนือ
วงแคนสารคาม
นเรศวร
แม่ฟ้าหลวง
ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568
::
อ่านผญา
ตกกะเทินได้เล่น เล่นสาให้มันม่วน ตกกะเทินได้กวน กวนสาให้มันขุ่น กวนขุ่นแล้วซิวกุ้งหากสิงอม
แปลว่า
เมื่อได้เล่น เล่นให้สนุก เมื่อได้กวนน้ำ กวนให้น้ำขุ่น น้ำขุ่นแล้วปลาซิวและกุ้งจะขึ้นให้เห็นมากมาย
หมายถึง
เมื่อได้ลงมือทำแล้ว ต้องทำให้ดีที่สุดเท่าที่ทำได้
ประเพณีอีสาน
บุญบั้งไฟ...ประเพณีอีสาน --- โดยอีสานจุฬาฯ
บุญบั้งไฟ
ตัวอย่างกาพย์เซิ้งบั้งไฟ
(2)
โอ้ โฮ้ โอ โฮ้ โอ้ โฮ้ โอ
โอละนอ ส่ายคอมาเบิ่ง
มาเบิ่งข้อย ผู้เซิ้งบั้งไฟ
บ้านมันไกล หนทางมันเวิ้ง
ใส่กุบเกิ้ง ข้ามท่งว้อยวอย
โอ้เฮาโอ่ สาวโอละนอ
มาฮอดแล้ว ปีใหม่ของเฮา
เพิ่นพาเอา บุญบั้งไฟบ่ขาด
มีนักปราชญ์เฒ่าแก่โบราณ
นำตำนาน ผาแดงนางไอ่
ฮอดปีใหม่ ขอฟ้าขอฝน
เป็นมงคล บ่ได้อดอยาก
บ่ลำบาก เฮ็ดไฮ่เฮ็ดนา
จึงบูชา พระยาแถนเจ้า
ฝนอั่งเอ้า ตกหล่นลงมา
พันธุ์พฤกษา พืชผักต่างๆ
แสนดูทาง เฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน
บ่มีขีน อันใดจักอย่าง
ในระหว่าง ครั้งพระยาขอม
เพิ่นเป็นจอม กษัตริย์ครองราชย์
ได้ประกาศ ในถิ่นหนองหาน
ได้จัดการ เฮ็ดบั้งไฟหมื่น
เรียงดาษดื่น ทั่วบ้านทั่วเมือง
บ่ฮ้อนเคือง แบบแผนแต่ก่อน
มีทุกบ่อน แบบบุญบั้งไฟ
บ้านใดๆ เดือนหกเดือนห้า
ของล้ำค่า บุญประเพณี
อย่าสิหนี ฮีตคองพ่อแม่
ผีสิแก่ ลงอเวจี
โอ้ โฮ้ โอ โฮ้ โอ้ โฮ้ โอ
บั้งไฟโก้ มันงามสง่า
เฮ็ดเข้าท่า เป็นน่าสะออน
น่าออนซอน งามหลายกะด้อ
มาพบพ้อ ฝีไม้ลายมือ
บ่เห็นคือ ดีหลายกว่านี้
บั้งไฟนี้ บั้งไฟของไผ
สีสดใส ลายงามสง่า
บั้งไฟบ้านท่า คุ้มหนองอีเด
ฟ้อนงามเก๋ ทางแอวกะฮ่อน
เบิ่งบาดย้อน ถืกตามจังหวะ
มีระยะ สวยงามบ่หยอก
ผู้ออกหน้า มีลวดมีลาย
ย่างเป็นสาย ถืกกันกะด้อ
คือสิต่อ จากครูเดียวกัน
ฟ้อนขบขัน หน้าตาพอเบิ่ง
ใบหน้าเกิ่ง หัวยิ้มบ่ลง
แม่อนงค์ งามหลายปานแต้ม
หัวยิ้มแย้ม น่าเบิ่งน่าชม
เนื้อคีงกลม งามหลายทุกส่วน
เล่นกะม่วน พอได้ประชัน
เล่นขบขัน สายตาผู้เบิ่ง
มาลำเซิ้ง การเล่นโบราณ
บ่ประจาน อับอายขายหน้า
เล่นเข้าท่า เชิดหน้าชูตา
เฮารักษา ประเพณีของเก่า
พ่อแม่เค้า พาเล่นซู่ปี
เฮาเฮ็ดดี มีคนยกย่อง
ชื่อเสียงก้อง ทั่วบ้านทั่วเมือง
โอ้ โฮ้ โอ โฮ้ โอ้ โฮ้ โอ
บ่าวคนโก้ เจ้าสิไปไส
เบิ่งสายใจ ฟ้อนรำซั้นบ้อ
เจ้ามาล้อ มาเล่นนำกัน
วันสำคัญ เจ้าอย่าสิเบื่อ
ปีละเทื่อ การเล่นของเฮา
อย่าให้เขา ติเตียนเฮาได้
รักษาไว้ เฮาเล่นซู่ปี
เฮ็ดให้ดี ฝูงคนยกย่อง
ชื่อเสียงก้อง ทั่วประเทศไทย
โอ้ เฮา โอ เฮา โอ้ เฮา เอย
แม่ป้าเอ้ย หลานเขยมาแล้ว
มาฮอดแล้ว ขอแผ่ปัจจัย
ขอทั้งไหม ทั้งเงินในแอบ
อัดแจบๆ เอาไว้ในเฮือน
เดือนแฮ่งตก ตาเว็นแฮ่งค้อย
ฝูงหลานน้อย ก็หากเมื่อยหิวแฮง
ตาเว็นแดง กาเหว่ามันฮ้อง
ฝูงพี่น้อง ฮีบแต่งของทาน
ให้แก่หลาน ผู้มาฟ้อนแอ่ว
เสียงแจ้วๆ แม่นบ้านโคกไท
ให้ไวๆ บั้งไฟสิขึ้น
ขึ้นเทิงฟ้า สามมื้อจั่งลง
โอ้ เฮา โอ เฮา โอ้ เฮา เอย
แม่ใหญ่เอ้ย หลานสาวมาแล้ว
มาฮอดแล้ว ตักเหล้ามายาย
ตักหลายๆ จั่งสิยายกันคู่
ตักหน่อยๆ มันบ่คู่กันกิน
หลานอยู่ดิน ขึ้นเฮือนบ่ได้
ใภ้อยู่ล่าง หมาเห่าแซวๆ
เห่าเป็นแถว ข้างในข้างนอก
ออกมาเบิ่ง หลานแก้วคนงาม
อยากมาถาม กินเหล้านำแหน่
อยากมาแหว่ กินเหล้าจักขัน
แม่ใหญ่จั้น เอาเหล้ามาแบ่ง
ผู้สาวปากแหว่ง สีนวดข้างเดียว
สีบาดได๋ ไหลไปบ่อนแหว่ง
แป้งอยู่หน้า ขาวจ้าดั่งเดือน
เฮือนโตมี สังมาบ่อยู่
ชู้อยู่บ้าน คอยท่าอยู่นาน
น่ารำคาญ แท้น้อแม่เฒ่า
ข้อยผู้เว้า ขอเหล้าหมู่กิน
รินมาแหม จักสองสามแก้ว
ข้อยกินแล้ว สิต่าวลาไป
เอ้อ เฮา เออ เฮา เอ้อ เฮา เออ
มาแล้วเด้อ โคกไทมาแล้ว
เสียงแจ้วๆ ม่วนเพราะเสาะใส
บั้งไฟใหญ่ โหวดเจ้าแฮ่งขาว
บั้งไฟยาว เสียงดังโหว่ๆ
โอ้ โฮ้ โอ โฮ้ โอ้ โฮ้ โอ
ผัวของโต อยู่เฮือนด่าป้อย
ฝูงไทข้อย มาม่วนทางไกล
ขอปัจจัย นำเจ้าจักบาท
อย่าให้ขาด ทางศีลกินทาน
ให้ลูกหลาน สาเด้อพ่อใหญ่
แม่เฒ่าใหม่ ให้แล้วหรือยัง
เฮ็ดอีหยัง มามิดซี่ลี่
หรือหลบลี้ อยู่ห้องบ่ไอ
หลานทางไกล มาขอกินเหล้า
เจ้ามีบ่ ญาพ่อศรัทธา
หิบเอามา จักสองสามขวด
เอามาดวด พอแล้วจั่งไป
เจ้าฟ้าวให้ ไวๆฟ้าวแหน่
สิไปแหว่ หาหมู่หลายเฮือน
เดือนแฮ่งตก ตาเว็นแฮ่งค้อย
ฝูงหลานน้อย ทั้งเมื่อยหิวแฮง
ฮอดยามแลง หิวแฮงแท้ๆ
โอ้ เฮา โอ เฮา โอ้ เฮา โอ
เจ้าให้แล้ว หลานแก้วสิต่าวลา
ลาละเด้อ ลาไปก่อนล่ะ
หม้อกะทะ ลาน้ำมันหมู
หัวปลาทู ลาข้าวเหนียวนึ่ง
เฮ็ดอึ้งตึ้ง คือบึ้งตื่นเสียม
ตามธรรมเนียม ต้องลาหนีจาก
จากปีนี้ ปีหน้าพ้อกัน
....
เอกสารอ้างอิง
: สุจิตต์ วงษ์เทศ, ประเพณีการเซิ้งบั้งไฟ
MENU
MENU
เนื้อหาทั้งหมดในเว็บไซต์
www.isan.clubs.chula.ac.th
ใช้
สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0
ห้ามนำเนื้อหาไปใช้เพื่อการค้า การนำไปเผยแพร่ต่อ ต้องอ้างอิงถึงที่มา
<
อ่านเงื่อนไข
>
ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใต้อัฒจันทร์สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปทุมวัน กรุงเทพฯ
ติดต่อชมรม
||
ติดต่อwebmaster
ชมรมอีสานจุฬาฯ... ประเพณีอีสาน