|
หน้าบ้าน
|
อีสานจุฬาฯ
|
มูนมังอีสาน
|
ม่วนซื่นโฮแซว
|
ปลาร้านอกไห
|
กระดานข่าว
|
แมลงแห่งอีสาน
|
อาหารแห่งอีสาน
|
สมุดเยี่ยม
|
ประวัติชมรม
ตราชมรม
วัตถุประสงค์ชมรม
วิสัยทัศน์ชมรม
ทำเนียบประธานชมรม
โครงสร้างการบริหาร
คณะกรรมการชมรม
กิจกรรมชมรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวสารจากชมรมฯ
Hot Short News
คลังภาพกิจกรรมชมรม
แผนที่ชมรมฯ
ชมรมอีสาน เพื่อนบ้าน
ฮีตสิบสองคองสิบสี่
เรือนสามน้ำสี่
ผญาอีสาน
ดนตรีอีสาน
ฟ้อนรำพื้นบ้านอีสาน
นิทาน
การละเล่น
คำทวย
กลอนอีสาน-ผญา
ประเพณีอีสาน
ฟังเพลงโปงลาง
ดูวีดีโอม่วนๆ
ฟังลายเแคนเฒ่าเก่า
ร้องคาราโอเกะ
ขอเพลงคาราโอเกะ
ภาษาอีสาน
จังหวัดในอีสาน
ของแซบอีสาน
วิถีอีสาน
นิทานพื้นบ้าน
นิทานก้อม
ห้องอักษรไทน้อย
ห้องอักษรธรรมอีสาน
โสเหล่สภาไนบักขามคั่ว
ห้องโสกันฉันพี่น้อง
ห้องลายเพลงพื้นบ้านอีสาน
ห้องอักษรไทน้อย
ห้องอักษรธรรมอีสาน
ประเพณีอีสาน
บุญผะเหวด
• ความเป็นมา-มูลเหตุพิธีกรรม
• ช่วงเวลา-การเตรียมงาน
• พิธีกรรมในงานบุญผะเหวด
• เวสสันดรชาดก 13 กัณฑ์
• สรุปอานิสงส์เวสสันดรชาดก
บุญบั้งไฟ
• ความเป็นมา-มูลเหตุพิธีกรรม
• ช่วงเวลา-ลักษณะพิธีกรรม
• วันสุกดิบ-วันโฮม
• วันจุดบั้งไฟ
• การนำรอยไฟ
• บั้งไฟ
• ส่วนประกอบบั้งไฟ
• การกระทุ้งบั้งไฟ
• การไขรู-เจาะรูเดินไฟ
• การติดหางบั้งไฟ-เอ้บั้งไฟ
• การเซิ้งบั้งไฟ-ตัวอย่าง(1)
• กาพย์เซิ้งบั้งไฟ(2)
• กาพย์เซิ้งบั้งไฟ(3)
• ค้างบั้งไฟ-การล้างบั้งไฟ
• การร้อยสายชนวน
แห่ปราสาทเผิ้ง
..
ล็อกอินเข้าระบบ
ชื่อ ::
รหัสผ่าน::
*จำสถานะ
ลืม password
Login ไม่ได้
สมัครสมาชิก Website
ทำไมต้องเป็นสมาชิก
สมาชิกทั้งหมด
: 4,475 คน
ล่าสุด:
Gim
เมื่อ: 27 ก.พ. 2568
ออนไลน์ทั้งหมด 27 คน
สมาชิก 0 คน
ขาจร 27 คน
ออนไลน์พร้อมกันสูงสุด
ทั้งหมด: 1174 คน
เมื่อ12 ม.ค. 2567 01:03
สมาชิก: 17 คน
เมื่อ03 มี.ค. 2553 14:41
(ข้อมูลระยะเวลา 5 นาที)
Hi Record Day
เยี่ยมชม: 70,848
คลิกเปิด: 71,803
เมื่อ 27 พ.ค. 2563
วันนี้
เยี่ยมชม: 11,695
คลิกเปิด: 11,902
เมื่อวาน
เยี่ยมชม: 20,713
คลิกเปิด: 21,054
เดือนนี้
เยี่ยมชม: 54,139
คลิกเปิด: 55,437
เดือนที่แล้ว
เยี่ยมชม: 337,965
คลิกเปิด: 382,788
3 มี.ค.2550 - ปัจจุบัน
เยี่ยมชม: 80,865,961
คลิกเปิด: 96,775,420
เว็บไซต์เพื่อนบ้าน
หน่วยงานในจุฬาฯ
ธาตุพนมดอทคอม
อุดรธานีดอทคอม
ชมรมอีสาน เพื่อนบ้าน
ธรรมศาสตร์
ลาดกระบัง
บางมด
พระนครเหนือ
วงแคนสารคาม
นเรศวร
แม่ฟ้าหลวง
ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 3 พฤษภาคม 2568
::
อ่านผญา
บุญ บุญนี้บ่แม่นของปันแจก บ่อห่อนแยกออกได้ คือไม้ผ่ากลาง
แปลว่า
บุญ ไม่ใช่สิ่งของที่จะแบ่งออกแจกกันได้
หมายถึง
ควรหมั่นทำบุญสม่ำเสมอ ด้วยตนเอง
ประเพณีอีสาน
บุญบั้งไฟ...ประเพณีอีสาน --- โดยอีสานจุฬาฯ
บุญบั้งไฟ
ตัวอย่างกาพย์เซิ้งบั้งไฟ
(3)
กาพย์ภังคี-ไอ่คำ-ผาแดง
โอ้ เฮา โอ เฮา โอ้ เฮา โอ
โอมพุทโธ นโมเป็นเค้า
ข้อยสิเว้า เรื่องกาพย์บั้งไฟ
ในสมัย โบราณย่อๆ
เป็นข้อๆ พอฮู้เรื่องราว
แต่ก่อนนี้ ครั้งพระยาขอม
เพิ่นเป็นจอม กษัตริย์เมืองใหญ่
เพิ่นคิดได้ ฮีตเก่าโบราณ
มีมานาน แต่พ่อและแม่
มีตั้งแต่ ปู่ย่าตายาย
บ่ให้กาย เดือนหกเดือนห้า
เพิ่นถือว่า ฟ้าฝนจั่งดี
ประเพณี ถือยามถือฤกษ์
บ่ให้เคิก อยู่ซุ่มกินเย็น
บ่ให้เป็น โภยภัยจักอย่าง
ร่างกายห่าง จากโรคโรคา
เพิ่นจั่งพา ทำบุญไฟใหญ่
ฮอดปีใหม่ ขอฟ้าขอฝน
เป็นมงคล บ่ให้อึดให้อยาก
บ่ลำบาก เฮ็ดไฮ่เฮ็ดนา
จั่งบูชา พระยาแถนเจ้า
ให้ฝนอั่งเอ้า ตกหล่นลงมา
พันธุ์พฤกษา พืชสัตว์ต่างๆ
แสนยู่ถ้าง ได้อยู่ได้กิน
บ่ให้ขีน อันใดจักอย่าง
ในระหว่าง บ้านถิ่นของเฮา
สิพาเอา ทำบุญครั้งใหญ่
เรียกพวกไพร่ มาตุ้มมาโฮม
เข้าอบรม ให้ฮู้ทุกอย่าง
บ่ให้ห่าง ข้างขึ้นเดือนหก
ให้สูตก ฎีกาเผยแพร่
บอกให้แน่ บ้านอื่นก็ดี
ฎีกามี ไปเมืองต่างๆ
ในระหว่าง บ้านถิ่นของเฮา
ให้มาเอา บุญบั้งไฟหมื่น
บ่อนอื่นๆ ประกาศฎีกา
ฮอดพารา หัวเมืองต่างๆ
ส่วนเมืองห่าง คือเมืองผาโพง
อยู่ฝั่งโขง บ่ได้ไปบอก
เพราะไกลออก ขัณฑะสีมา
หยุดบั้นพระยา ขอมไว้สาก่อน
ย้อนไปบ่อน บั้นท้าวผาแดง
ทางฝั่งของ ได้ยินเขาส่า
ผาแดงว่า บ่ได้ฎีกา
บ่ใส่มา ฮอดเฮากะซ่าง
คันสิย่าง ไปเบิ่งเฉยๆ
บ่ควรเลย อยากอายพวกหมู่
ถึงเฮาอยู่ ประเทศเมืองไกล
ทางสิไป ข้ามภูบุป่า
ผาแดงว่า เฮาควรเฮ็ดไป
เป็นจั่งได๋ อดทนไปก่อน
โงไปบ่อน พญานาคสุทโธ
ได้ยินคนโส บุญบั้งไฟหมื่น
เสียงดังหื่น เมืองพระยาขอม
บุญมาดอม ภังคีบาบ่าว
ได้ยินข่าว นางไอ่คนดี
ยอดนารี บ่มีผู้ท่อ
อยากพบพ้อ พอล้มพอตาย
คิดฮอดหลาย ย่อนกรรมอุบาทว์
ชาติก่อนท้าว บาบ่าวภังคี
คนดีๆ เกิดเป็นคนใบ้
บาคานไท้ เดินดั้นคนเดียว
หนทางเทียว บุดงลำบาก
ทุกข์ยากแค้น แสนแสบในใจ
แล้วจั่งไป ขอทานกินข้าว
นำท่านเฒ่า คุณพ่อเศรษฐี
เพิ่นยินดี ให้ทานบาบ่าว
จั่งถามข่าว บ้านอยู่เคหา
ส่วนว่าบา บ่ฮู้ปากต่อ
ฮู้แต่ท่อ ซี้หน้าซี้หลัง
จักว่าหยัง บ่มีผู้ฮู้
จั่งได้อยู่ เป็นลูกบุญธรรม
มาประจำ ทำงานในบ้าน
บ่มีคร้าน บาใบ้คนดี
ท่านเศรษฐี เลยยกน้อยอ่อน
ให้เป็นต่อน นางลูกนางเมีย
บ่ได้เสีย อันใดจักอย่าง
ใจเลาต่าง คิดฮอดมารดา
จั่งไปลา เศรษฐีพ่อเฒ่า
เพิ่นจั่งเว้า ว่าสิไปไส
คันสิไป บ้านเดิมที่อยู่
ให้เอาคู่ น้อยอ่อนไปนำ
สองงามขำ เดินไปในป่า
บ่ได้ว่า ดีฮ้ายจั่งได๋
บ่มีอันใด สิกินไปหน้า
สองนาถหล้า กินไม้กินผล
ทั้งสองคน หิวหลายกะด้อ
ไปพบพ้อ ต้นเดื่อในดง
หน่อยตกลง ทั้งแมงทั้งเน่า
ผัวอุกเอ้า ปีนขึ้นไปกิน
เมียอยู่ดิน คอยได้คอยอยู่
ผัวข่มขู่ ถิ่มแล้วย่างหนี
ทางเทวี จั่งได้ขึ้นอีก
ผัวนั้นหลีก หนีจากนางไป
บ่อาลัย เมียแพงจักอย่าง
เลยเกิดห่าง ต่างคนต่างไป
นางบรรลัย แล้วเอากำเนิด
จั่งมาเกิด กับพระยาขอม
ส่วนว่าจอม กษัตริย์บาท้าว
อุกอั่งเอ้า ในป่าในไพร
โดนนานไป ก็เลยดับชั่ว
ตายแล้วตัว เกิดเป็นนาโค
ลูกสุทโธ บาดานใต้ต่ำ
เวรมาหน่ำ บาบ่าวภังคี
ให้เลามี จิตใจคิดฮอด
ถึงยอดแก้ว เวรเจ้าแต่หลัง
....
เอกสารอ้างอิง
: สุจิตต์ วงษ์เทศ, ประเพณีการเซิ้งบั้งไฟ
MENU
MENU
เนื้อหาทั้งหมดในเว็บไซต์
www.isan.clubs.chula.ac.th
ใช้
สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0
ห้ามนำเนื้อหาไปใช้เพื่อการค้า การนำไปเผยแพร่ต่อ ต้องอ้างอิงถึงที่มา
<
อ่านเงื่อนไข
>
ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใต้อัฒจันทร์สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปทุมวัน กรุงเทพฯ
ติดต่อชมรม
||
ติดต่อwebmaster
ชมรมอีสานจุฬาฯ... ประเพณีอีสาน