ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
นกอีเอี้ยงกินหมากโพธิ์ไทร แซวแซวเสียงบ่มีโตฮ้อง แซวแซวฮ้องโตเดียวเหมิดหมู่ แปลว่า ฝูงนกเอี้ยงกินผลโพผลไทร เสียงดังเจี๊ยวจ๊าว แต่ไม่มีนกตัวใดร้อง เมื่อร้องหนึ่งตัว แทนนกตัวอื่นได้ หมายถึง การทำงานควรมีหัวหน้า หมู่คณะ ควรมีผู้นำ


  ค้นหาสาธุการ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1 2  
  โพสต์โดย   910) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณโหวดฟ้า:
อืม มหาส่งในนามวงตักสิลาเหรอครับ เป่าโหวดเหมือนเดิมหรือเปล่า

    ครับ เป่าโหวดเหมือนเดิม
แต่ลายเดี่ยวยังไม่สมบูรณ์หรอกครับ อัดส่งไปก่อน
ยังไม่เพราะเท่าไหร่ ทำยาก เล่นยาก ยังไม่เพลิน อย่างชื่อลำเพลินเลย เล่นแล้วไม่เห็นจะเพลินเลย คิดว่าคงจะต้องปรับใหม่ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 558 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 558 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2553 เวลา 23:53:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   910) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
โธ่ วันเสาร์ที่แล้ว กว่าจะอัดเสร็จ เลิกตั้งตีสาม ยังไม่ค่อยพอใจเท่าไหร่เลย แต่หมดแรง สงสัยจะแก่แล้ว  ไม่ค่อยทรหด อดนอนได้เหมือนสมัยเรียน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 419 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 419 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2553 เวลา 21:57:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ลายเพลง และลายเดี่ยวของเครื่องดนตรี ต่างๆ ถอดความ หรือดัดแปลงมาจาก ลายแคน ที่เป็นลายหลัก เนื่องจากแคนเป็นเครื่องดนตรีชนิดแรกและเก่าแก่ที่สุดในบรรดาเครื่องดนตรีพื้นบ้านทั้งหลาย และลายหลักของแคนมาจากทำนองลำ หรือเพื่อใช้ประกอบทำนองลำ
ดังนั้นหลักของลายดนตรีพื้นบ้าน คือ หมอลำ ครับ

อ.ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ ได้กล่าวไว้ว่า "การเกริ่นโหวดมาจากทำนองลำ หลักของพื้นบ้านคือหมอลำ นักดนตรีพื้นบ้านควรที่จะฟังหมอลำ เพื่อที่จะได้เข้าใจในลายที่ตนจะบรรเลงว่า ลายนั้นพูดว่าอะไร หมอลำ ลำอย่างไร ดนตรีจึงบรรเลงเป็นอย่างนี้"

 
 
สาธุการบทความนี้ : 402 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 400 ครั้ง
 
 
  20 ต.ค. 2552 เวลา 21:53:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
มาว่ากันต่อในส่วนของดนตรีพื้นบ้าน

ในที่นี้กล่าวถึงกลุ่มอีสานเหนือ สิ่งที่เป็นหลักของดนตรีกลุ่มนี้คือ หมอลำ

หมอลำชนิดแรก คือ หมอลำพื้น  เป็นการลำเล่านิทาน มีผุ้ลำหนึ่งคน เป็นทั้งผู้เล่าเรื่อง และแสดงที่สมมติเป็นทุกตัวละครในเรื่องทำให้ผู้ชมเกิดความสนุกสนาน มีอุปกรณ์ประกอบการแสดงหนึ่งอย่างคือผ้าขาวม้า ใช้เป็นทั้ง ม้า เรือ ฯลฯ  เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบลำพื้นคือ แคนเก้า ที่มีขนาดใหญ่

ต่อมาหมอลำก็ได้พัฒนาไปในสองทิศทางคือ
1 หมอลำหมู่
2 หมอลำกลอน

หมอลำเวียงหรือหมอลำหมู่ พัฒนามาจากหมอลำพื้นมีจำนวนผู้แสดงหลายคนตามจำนวนตัวละครในเรื่องที่แสดง มีเครื่องดนตรีประกอบหลายชิ้นขึ้น

หมอลำเพลิน หรือ หมอลำกกขาขาว คือ หมอลำหมู่ชนิดหนึ่งที่มีทำนองสนุกสนาน การเดินเรื่องกระชับรวดเร็วเข้าใจง่าย ที่เรียกว่า หมอลำกกขาขาว เนื่องจากผู้แสดงนุ่งซิ่นสั้นเลยหัวเข่า  เรื่องที่นำมาแสดงลำเพลิน เรื่องแรก คือ แก้วหน้าม้า จึงเป็นที่เรียกติดปากว่า ลำเพลินแก้วหน้าม้า หรือ หมอลำแก้วหน้าม้า ในเวลาต่อมา เครื่องดนตรีที่โดดเด่นในลำเพลินคือ พิณ

หมอลำกลอน พัฒนามาจากหมอลำพื้น มีผู้ลำ 2 คน แบ่งเป็นฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ลำโต้ตอบกัน มีการลำเกี้ยวพา สนทนาให้ให้ความรู้ แง่คิด คติสอนใจแก่ผู้ฟัง หรือบางครั้ง มีผู้ลำ 3 คน ในการลำ ชิงชู้ มีชาย 2 คน หญิง 1 คน เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบหมอลำกลอนคือ แคนแปด เป็นแคนขนาดปกติที่พบเห็นทั่วไป

ต่อมา หมอลำกลอนได้พัฒนามาเป็นหมอลำกลอนซิ่ง ที่มีเครื่องดนตรีสากลต่างๆเข้ามาบรรเลงประกอบมีการแต่งกายทันสมัย มีทั้งการลำกลอนแบบเดิม และบรรเลงดนตรีประกอบในลำหย่าวให้สนุกสนานเร้าใจยิ่งขึ้น

และต่อมาจากหมอลำกลอนซิ่งก็ได้กลายเป็นหมอลำซึ่ง ที่เน้นการร้องเพลงลูกทุ่งเพลงลูกทุ่งหมอลำและดนตรีที่สนุกเร้าใจเท่านั้น กลอนที่ลำเหลือเพียงการลำไหว้ครูในช่วงต้น  เป็นอุบัติเหตุทางวัฒนธรรมที่อันตรายอย่างยิ่ง แต่ในปัจจุบันนี้ ความนิยมในหมอลำซิ่งได้ลดลงเนื่องจากมีเหตุการณ์ทะเลาวิวาทของวัยรุ่นทุกครั้งที่มีการแสดง

จบเรื่องวิวัฒนาการของหมอลำ คราวหน้าจะพูดถึงเรื่อง ลาย นะครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 400 ครั้ง
จากสมาชิก : 4 ครั้ง
จากขาจร : 396 ครั้ง
 
 
  20 ต.ค. 2552 เวลา 18:17:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณจารย์ใหญ่:
คำว่า ลาย เป็นคำเรียกทำนองการบรรเลงดนตรีของคนอีสาน บางแห่งบางที่ก็เรียกว่า ทาง
เช่น ลายน้อย ก็เรียกว่า ทางน้อย เป็นต้น ส่วนทำนองการลำนั้นก็เรียกว่า ทาง เหมือนกันแต่
ไม่ได้เรียกว่า ลาย เหมือนการเล่นดนตรี เช่น ลำทางสั้นทางยาวหรือทางเต้ย เป็นต้น
และก็อยากจะรู้เรื่อง ชื่อลายการบรรเลงดนตรี การลำประเภทต่างๆ ช่วยให้ความรู้ด้วยครับ

    ทาง ไม่ได้แปลว่า ลาย ครับใช้แทนกันไม่ได้ เพราะ ทาง หมายถึง รูปแบบในการบรรเลงครับ
ตัวอย่างที่1 ลายน้อย ที่กล่าวมาในข้างต้น ชื่อลายว่า ลายน้อย และลายนี้ บรรเลงทางน้อย ที่เรียกว่าลายน้อยเพราะบรรเลงทางน้อย หรือคีย์น้อย และทางก็ไม่ได้แปลว่า คีย์นะครับ ทางแปลว่าแบบ แปลว่ารูปแบบ

ตัวอย่างที่2 ลายสุดสะแนน ใช้ในลำทางสั้น ในกรณีที่เเป็นหมอแคน จะเรียกว่า เป่าลายสุดสะแนนหรือเป่าทางสั้นก็ได้ครับ

ตัวอย่างที่3 ลายสุดสะแนน ทางอุบล หมายถึง บรรเลงลายสุดสะแนน แบบอุบล

ตัวอย่างที่4 ลายสุสะแนน ทาง อ.ทองคำ หมายถึง บรรเลงลายสุดสะแนน ในแนวทางการบรรเลงของ อ.ทองคำ

คงจะพอเข้าใจแล้วนะครับในเรื่อง คำว่า ลาย กับคำว่า ทาง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 375 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 374 ครั้ง
 
 
  20 ต.ค. 2552 เวลา 16:53:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   721) ลายเพลงของสาขาวิชาดนตรีและการแสดงพื้นเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ ม.ขอนแก่น  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่19)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ไอ้กระผมก็อยากเป็นบุคลากรที่นั่นครับ ยังทันรึเปล่าไม่รู้ ตอนนี้ผมกำลังจะเรียนปริญาโทสาขาดนตรีพื้นบ้านครับ

สาขาดนตรีและศิลปะการแสดงพื้นบ้านนี้ เป็นสาขาวิชาในอุดมคติของท่านอาจารย์ของผมเลยล่ะครับ แต่ท่านทำไม่ถึง และทำไม่ได้แล้วที่มหาสารคาม เพราะสาขาวิชาดนตรีพื้นบ้าน
อยู่ในวิทยาลัยดุริยางคศิล(เหมือนกับที่มหิดล) ซึ่งแยกตัวจากคณะศิลปกรรมศาสตร์แล้ว

ขออาสาเป็นผู้บุกเบิกด้วยคนครับ
ผมคิดว่าน่าจะได้พบกับอาจารย์ของผมหลายท่านที่นั่น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 367 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 367 ครั้ง
 
 
  19 ต.ค. 2552 เวลา 13:24:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
[ทำนองลำพื้น เป็นทำนองลำแบบแรกใช่จริงหรือไม่
การลำพื้น ระหว่างลำนิทาน กับลำในพิธีกรรม อันไหนเริ่มมีก่อนกัน    


น่าคิดครับ ผมเองก็ฟังมาจากวิชาเรียนว่าหมอลำพื้นคือหมอลำชนิดแรก
การลำในพิธีกรรมน่าจะมีมาก่อนครับ

ในเมื่อมีทำนองลำในพิธีกรรมก่อน ทำนองลำพื้นจึงไม่ใช่ทำนองลำชนิดแรก

แล้วคำจำกัดความของคำว่าหมอลำล่ะครับ พอจะทำให้ลำพื้นเป็นหมอลำชนิดแรกได้รึเปล่า
ทำไมผมจึงได้เรียนมาอย่างนั้น   ผู้นำในการทำพิธีกรรมเขาเรียกว่าหมอลำด้วยหรือไม่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 337 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 336 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 03:48:52  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   910) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่48)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ศิลป์อีสาน

ปทุุมพิท

มหาลัยขอนแก่น

เข้ารอบไปแล้ว

ปีนี้ตักสิลาตกครับ ทีมไม่แน่น ไม่มีเวลาซ้อมเลย นางรำก็มาต่อท่าเอาวันนั้น ซ้อมรอบสองรอบแล้วก็อัดเลย ดนตรีก็ซ้อมก่อนอัดเหมือนกัน ปีหน้าส่งใหม่อีกครั้ง      ศึกสุดท้ายของผม  ต้องจัดการทีมใหม่ให้ดีกว่านี้  อดโชว์ลายลำเพลินเลย  เก็บไว้ก่อน  ปีหน้าอาจจะพรัอมกว่านี้  มีเวลาซ้อมอีกหนึ่งปี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 332 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 332 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 14:11:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
    ตำนานโหวด
โหวดเป็นเครื่องดนตรีของชาวอีสาน หรือ ของเล่นชนิดหนึ่งของชาวอีสาน ใช้แกว่งเล่นเหมือนธนู ต่อมาโหวดได้ดัดแปลงมาเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองอีสาน โหวดเกิดขึ้นในสมัยใดนั้น ยังไม่สามารถบอกได้แน่นอนหรือยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่าเป็นนิยายปรัมปรา สืบต่อกันมา  ในสมัยก่อนพุทธกาล มีเมืองหนึ่งชื่อเมืองพันทุมาลัย เมืองนั้นมีพระโพธิสัตว์ เสวยชาติมาเป็นพระยาคางคก สมัยก่อนมีความเชื่อเรื่องพระยาแถน เรื่องฝน ฟ้า อากาศ เจ็บไข้ได้ป่วยก็ไปบนบานศาลกล่าวต่อพระยาแถน แต่พอมีพระยาคางคก ก็ทำให้คนและสัตย์หันไปนับถือพระยาคางคก ทำให้พระยาแถนไม่พอใจ ฝนฟ้าที่เคยตกต้องตามฤดูกาล ก็ทำให้เมืองนี้แห้งแล้งเป็นเวลา 7 ปี 7 เดือน คนและสัตย์รวมทั้งพืชพันธ์ธัญญาหารล้มตาย ทำให้มวลมนุษย์และสัตย์เดือดร้อนก็เลยทำสงครามกับพระยาแถน แต่มนุษย์ก็ไม่ชนะสักที จึงมาปรึกษากับพระยาคางคก พระยาคางคกก็รับอาสาจะไปสู้กับพระยาแถน พระยาคางคกก็นำทัพไปรบกับพระยาแถน แต่งตั้งให้พระยาปลวกทำสะพานดินเป็นถนนขึ้นสู่เมืองพระยาแถน ให้พระยามดขึ้นไปสู่เมืองพระยาแถนก่อนเพื่อไปเจาะดาบเอาุธยุทธโธปกรณ์ ให้จวนจะหัก และพระยาตะขาบ แมงป่อง อสรพิษทั้งหลายไปดักอยู่ตามเสื้อผ้า อุปกรณ์ต่างๆ ที่ทหารพระยาแถนใช้      พอถึงวันแรม 7 ค่ำ พระยาคางคกก็นำทัพขึ้นไปเจรจาขอฝนกับพระยาแถน พระยาแถนก็โกรธและไม่ประธานฝนให้ แล้วก็ประกาศสงครามกัน แผนต่างๆ ที่พระยาคางคก วางเอาไว้ก็เริ่มปฏิบัติการ ตะขาบ แมงป่อง ก็ออกมากัดทหารให้ล้มตาย   ส่วนพระยาคางคกกับพระยาแถนก็ต่อสู้กันบนหลังช้าง สู้กันไปกันมา พระยาแถนใช้ดาบฟันพระยาคางคก ดาบก็หัก จะใช้ตะขอเกี่ยว ตะขอก็หัก ในที่สุดพระยาคางคกได้จังหวะ ก็ใช้บ่วงศ์ (บ่วงนาคบาศก์) จับพระยาแถนได้จนตกจากหลังช้าง พระยาแถนจึงยอมตกลงตามสัญญา โดยมีเงื่อนไขกันอยู่ 3 ประการ คือ
               ประการที่ 1  ให้พระยาแถน ประทานน้ำฝนให้เหมือนเดิม ถึงเดือนหก ถ้าฝนไม่ตกมนุษย์จะทำบั้งไฟ จุดขึ้นไปเป็นการบอกกล่าวเตือนพระยาแถนให้ประทานฝนลงมาให้มนุษย์
               ประการที่ 2   การได้ยินเสียง กบ อึ่งอ่าง เขียดร้อง แสดงว่ามนุษย์ได้รับน้ำฝนแล้ว
               ประการที่ 3  เมื่อใดที่ได้ฝนเพียงพอแล้วก็จะแกว่งโหวดขึ้นสู่ท้องฟ้าให้เกิดเสียงดังเป็นสัญญาณ ให้พระยาแถนทราบว่าได้รับน้ำฝนเพยงพอแล้วเพื่อให้ลดปริมาณฝนลง หรือให้ฝนหยุด
ปัจจุบันนี้โหวดเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมมาก และเป็นเครื่องดนตรีที่นำมาบรรเลงเข้ากับเครื่องดนตรีอีสานได้ เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง และเกิดเป็นวงดนตรีพื้นเมืองอีสานดังปรากฏในปัจจุบันนี้

ประวัติลายสาวน้อยหยิกแม่

เดี่ยวโหวดลายสาวน้อยหยิกแม่ หรือ สาวสะกิดแม่  เป็นการเลียนแบบมาจากลายแคน ซึ่งบางลูกบางทำนอง โหวดไม่สามารถบรรเลงตามทั้งหมดได้ เนื่องจากโหวดเป็นเครื่องดนตรีทีมีห้าเสียง ท่านอาจารย์ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ จึงได้ดัดแปลงทางบรรเลงมาเป็นทางเฉพาะของโหวด
ในสมัยโบราณเมื่อถึงฤดูหนาวชาวอีสานจะมีการลงข่วง(ลงลานทำงานร่วมกัน)ในตอนกลางคืน พ่อแม่ก็จะเปิดโอกาสให้ลูกสาวของตนลงมาทำงานใต้ถุนบ้านและไปลงข่วง เพื่อให้หนุ่มสาวได้พบปะพูดคุย ทำความรู้จักกัน ถือเป็นการเลือกคู่ครองไปในตัว  ดังนั้นชายหนุ่มจะต้องทำให้ฝ่ายหญิงสนใจและเลือกตนเป็นคู่ครอง    ชายคนใดที่มีความสามารถในการเล่นดนตรีก็จะได้เปรียบชายอื่นเป็นอย่างมาก  เมื่อหญิงสาวเกิดความชอบพอในตัวชายหนุ่มจึงสะกิดแม่ของตนด้วยความเขินอาย  เป็นนัยว่าชอบพอชายผู้นั้น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 327 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 325 ครั้ง
 
 
  20 ต.ค. 2552 เวลา 22:10:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   734) หมอลำดังในอดีต  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณจารย์ใหญ่:
อยากจะรู้หมอแคนที่เป่าให้หมอลำเคน แม่บุญเพ็ง หมอลำทองคำครับ....

พอสิมีผู้ฮู้แหน่บ่นอ.....

    
เดี๋ยวหาข้อมูลให้ครับ บ่โดน บ่โดน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 323 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 323 ครั้ง
 
 
  27 ต.ค. 2552 เวลา 21:54:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
การขับงึมนั้นได้วิวัฒนาการมาจากการอ่านหนังสือเทศน์ หรือ การอ่านหนังสือวรรณกรรมพื้นบ้าน

ที่กล่าวมาในข้างต้นเป็นการเล่าวรรณกรรมในพิธีกรรม

และในกรณีที่ไม่ได้นับถือพระพุธศาสนาแต่นับถือผี และมีการขับลำ

แล้วคนที่ขับลำ ขับร้องในพิพีกรรม เขาเรียกหมอลำหรือไม่

ข้อที่ว่าหมอลำพื้นเป็นหมอลำชนิดแรกยังไม่ตกไป
แต่ผมต้องรู้ให้ได้ว่าหมอลำชนิดแรกคือหมอลำพื้นจริงหรือไม่
ช่วยชี้แนะด้วยครับผม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 322 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 322 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 05:48:55  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   918) ขอแนวความคิดทางของดนตรีพื้นบ้านสมัยใหม่กับสมัยเก่า  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ไม่ต่างกันหรอก แค่คนดนตรีสมัยใหม่ ยังเดินไปไม่ถึง สิ่งที่ศิลปินสมัยก่อนเห็นและเข้าใจเท่านั้นเอง

คนสมัยก่อนก็เล่นได้ทั้งง่ายและยาก สำหรับลายต่างๆ  ศิลปินที่เล่นง่ายๆแต่ไพเราะ

ก็เช่น อ.ทองใส ทับถนน  เล่นง่ายๆแต่ไพเราะมาก ให้ไปดูให้ดีๆว่าไพเราะได้ยังไง คนโบราณที่เล่นลายเดี่ยวยากๆได้ไพเราะก็มีเยอะ  

อ.ทองคำ ไทกล้า เคยกล่าวไว้ว่า  "ลายหนึงๆ นั้น มันกะสิมีหม่อง ม่วน อยู่ หม่องสองหม่อง ท่อนั้นล่ะ  ข่อยถามเจ้าแหน่ อั่นที่เจ้าเล่นไปหวั่งหั่น มันม่วนหม่องได๋"

ผมสรุปได้ว่า ตัวผู้บรรเลงจะต้องเข้าใจในลายนั้น มีจุดที่ทำให้คนสนใจ มีจุดที่ทำให้คนเงึด และออนซอน เข้าใจโครงสร้าง เรียบเรียงให้สวยงาม ไม่จำเป็นที่จะต้องยากทั้งหมด การที่เล่นยากเกินไป ก็ไม่ทำให้ลายนั้นไพเราะได้


ลายเพลงสมัยใหม่ผมชอบดึงครกดึงสากนะ  เล่นสะใจดี ผู้ประพันธ์  คิดได้สุดยอด  

นักดนตรีต้องพัฒนาความคิดไปเรื่อยๆ  

โดยเรียนรู้ไปเป็นลำดังนี้

เลียนแบบ
แอบลอก
นอกครู
กูเอง

จะอธิบายต่อในคราวต่อไป

 
 
สาธุการบทความนี้ : 318 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 318 ครั้ง
 
 
  02 ก.ค. 2553 เวลา 12:07:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
- ล - ม    ร ม ซ ร    - - - -   - ม ซ ร   - - - -     - ล ด ร   - - - -   - ล ด ร   - ม ซ ม   ร ม ดร   - - - -     - ล ด ร
ซ ล ด ล     ซ ม ซ ร   - ม - ด   ล ด ร ม

โน๊ตกลุ่มนี้คือ ใจความสำสัญ ของสาวน้อยหนิกแม่ ที่เลียนแบบมาจากทำนองลำ ของหญิงสาว มีเนื้อความว่า
"แว่นแว แว่แหว แว่นแว ....แว่นแว แว่นแหว แว่นแว ครันอ้าย บ่แวะหนี่โตอ้ายสิแวะใส "
ลองฟังในสาวสะกิดแม่ของแคนนะครับจะมีทำนองนี้อยู่เหมือนกัน

และส่วนที่เป็นลายอ่านหนังสือในเกริ่นนำมาจากทำนองลำล่องครับ    

ลายสาวน้อยหยิกแม่ ดัดแปลงมาจากลาย สาวสะกิดแม่ของแคน และลายนี้ดัดแปลงมาจากลายใหญ่ ที่ใช้เป่าประกอบลำล่องครับ ส่วนลำล่องมีมาแต่เมื่อไหร่ ไม่ทราบครับ ลองถามข้อสันนิฐานจากท่านที่เชี่ยวชาญการลำล่องดู    

ประวัติคามเป็นมาของโหวด
เดิมโหวดเป็นของเล่นของเด็กเลี้ยงควาย ชาวภาคอีสานทั่วๆ ไป มีมาตั้งแต่เมื่อใดไม่ทราบแนjชัด ใช้เล่นในช่วงปลายฤดูฝนก่อนเก็บเกี่ยวข้าวนาปี ใช้เล่น 3 กรณี คือ
1. เป่าเล่นเพื่อประโลมใจขณะขี่หลังควายหรือพาควายเล็มหญ้าตามทุ่งนา ในสมัยที่มีการล่งข่วง อาจารย์ทรงศักดิ์ เล่าว่า "สมัยพ่อเป็นบ่าว พวกพ่อนี่กะพากันไปหาเล่นสาว เป่าแคนย่างไปนำทาง กะถือโหวดนี่ล่ะไปนำ เห็นซุมผู้บ่าวผู้สาวนั่งคุยกัน กะคึดอยากก่อกวน กะเลยเป่าโหวดใส่ แนวแต่กี้มันกะมี ห้า หก ลูกนึงดอก ควมว่า กอดกันสาสูกอดกันซะ จูบกันสาสูจูบกันซะ ....กันสาสู....กันซะ ทางนั้นกะเคียดแล่นไล่" นำนองนั้นก็มีโน้ตคล้ายๆว่า โดเรซอล ซอลโดเรมี (ไม่ได้จูนเสียงให้ตรงสักเท่าไหร่นัก)
2. ใช้แกว่งและเหวี่ยงเพื่อฟังเสียง ด้วยการต่อหางโหวดให้ยาว แล้วเอาบ่วง 2 หัว ที่เรียกว่า "ตอง" คล้องหัวและหางโหวด แล้วแกว่งรอบศรีษะด้วยความเร็วสูง เสียงปะทะรูโหวดทุกลูกพร้อมๆ กัน จะเกิดเสียงดังว่า "ลาวๆ" หรือ "แงวๆ" ฟังแล้วชวนเพลิดเพลิน ชาวไทยลาวภาคอีสานเรียกการแกว่งโหวด เช่นนี้ว่า "การแงวโหวด"
3. การโยนเล่นเป็นกีฬา กล่าวคือเมื่อแกว่งโหวดฟังเสียงพอใจแล้วก็ปล่อยหางบ่วง ทำให้โหวดลอยโด่งขึ้นไปในอากาศเกิดเสียงดัง "โหวดๆ" หรือ "โหว่ๆ" เรียกว่า การถิ่มโหวด

การนำโหวดมาปรับปรุงใช้เครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้ ทำขึ้นครั้งแรกโดยชาวอำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด มีนายทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ เป็นหมอโหวดคนสำคัญ เป็นผู้คิดเอาโหวดประสมกับวงแคนและซุง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511-2516 เรียกวงดนตรีชนิดนั้นว่า "วงโหวดเสียงทองหนองพอก" ต่อมาปี พ.ศ. 2517 จึงนำวงโปงลางเข้ามาประสมด้วย อันเป็นสาเหตุให้ต้องปรับปรุงมาตราเสียงของโหวดให้ตรงกับมาตราเสียงของโปงลาง คือมีระดับเสียงจากต่ำไปสูง จนแพร่หลายไปทั่วประเทศ และต่างประเทศจนถึงปัจจุบัน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 313 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 311 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 03:15:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   111) วงโปงลางเพชรดอนจา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่73)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณเพชรดอนจา:
ขออภัยด้วยนะคะ จะเอากลับไปปรับปรุงเป็นการด่วนนะคะ

    ค่อยๆ พัฒนาไปเรื่อยๆนะครับ อ่านหนังสือเยอะๆ เดี๋ยวก็รู้  เข้าห้องสมุดบ่อยๆครับ
ดูเรื่องการแต่งกายของอีสานนะครับ  แล้วจะคอยติดตามผลงานครับผม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 308 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 308 ครั้ง
 
 
  12 ก.ค. 2553 เวลา 16:56:35  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   734) หมอลำดังในอดีต  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
หมอแคนที่ผมชอบ
เช่นหมอแคน หนูกัน เป็นผู้ที่เป่าแคนลมซ้อนได้ ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว    

หมอแคน วิโรจน์ M16 ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว

อ.สมบัติ สิมหล้า อยู่ที่ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น

อ.ทองคำ ไทกล้า ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว

อ.บัวหอง ผาจวง จ.หนองคาย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 307 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 307 ครั้ง
 
 
  27 ต.ค. 2552 เวลา 09:59:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่16)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
กำเหนิดหมอลำ หมอลำเกิดขึ้นเมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่ชัดเพราะไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักอักษร แต่กล่าวว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อหลายร้อยปีมาแล้ว ได้มีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับความเจริญของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งมีการสันนิษฐานไว้ 3 ประการ คือ
1. เกิดจากความเชื่อเรื่องผีฟ้า ผีแถน และผีบรรพบุรุษ ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าผีเหล่านี้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เกิดภัยธรรมชาติและความเจ็บป่วยแก่มนุษยได้ มนุษย์จึงทำพิธีกรรมรักษาผู้ป่วยตามวิธีการของหมอผี คือการขับ ลำผีฟ้า ลำส่อง ลำทรง แล้วพัฒนาการเป็นลำพื้น และลำกลอนตามลำดับ
2. เกิดจากธรรมเนียมการอ่านหนังสือผูก และการเทศน์ลำ หนังสือผูกคือวรรณกรรมพื้นบ้านที่มีการจารลงในใบลาน เรื่องราวที่จารอาจเป็นชาดก นิทานพื้นบ้านที่สนุกสนาน เช่น สังข์สินไช กำพร้าผีน้อย ฯลฯ สมัยก่อนในภาคอีสานมักจะมีการอ่านวรรณกรรมพื้นบ้านในที่ประชุมเพลิง โดยเจ้าภาพจะหาหมอลำมาอ่านขับลำนำหนังสือให้ผู้มาร่วมงานได้ฟังคล้ายมหรสพ หรือแม้แต่ในงานสมโภชสตรี ที่เรียกว่า งันหม้อกรรม คือการอยู่ไฟหลังคลอด เมื่อมีเพื่อนบ้านมาเยี่ยมหรือแสดงความยินดี ก็มักมีการจับกลุ่มอ่านหรือฟังนิทานจากหนังสือผูก ซึ่งจากความนิยมนี้เองทำให้เกิดการคิดวิธีการอ่านให้หน้าสนใจ หรือคิดการแสดงประกอบการเล่าเรื่องแล้วต่อมาก็มีการใช้แคน เป็นดนตรีประกอบจนเกิดเป็นการแสดงที่เรียกว่าลำพื้นขึ้น
3. เกิดจากการเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาว เนื่องในโอกาสต่าง ๆ กัน เช่น การลงแขกเกี่ยวข้าว การเข็นฝ้าย หรือในงานนักขัตฤกษ์ โดยหนุ่มสาวได้มีโอกาสสนทนากันโดยโวหารที่ไพเราะ และมีความหมายลึกซึ้ง ที่เรียกกันว่า ผูกผญา หรือจ่ายผญา

หมอลำแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
         หมอลำที่แสดงเพื่อความบันเทิง ได้แก่ หมอลำกลอน หมอลำเรื่อง และหมอลำเพลิน เป็นต้น ซึ่งแต่ละ
อย่างก็จะมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น หมอลำกลอน เป็นการโต้ตอบกลอนสด อาจจะเป็นชาย-ชาย หรือชาย-หญิงโต้ตอบกัน เนื้อหาจะเป็นเรื่องประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ นิทานพื้นบ้าน คติธรรม ใช้แคนเป็นดนตรีประกอบ ส่วน หมอลำเรื่อง จะเป็นการลำเกี่ยวกับนิทานพื้นบ้าน หมอลำเพลิน จะเป็นกลอนลำที่มีทำนอง จังหวะเร็ว สนุกสนาน ไม่มีการเอื้อนเสียง ให้ความครึกครื้นเข้ากับลีลาการเต้น ทำนองได้รับอิทธิพลจากเพลงลูกทุ่งและเพลงไทยสากล ลำเต้ย เป็นกลอนลำที่มีทำนองสั้น กระฉับกระเฉง ไม่เอื้อนเสียง ทำนองแสดงอารมณ์รื่นเริงสนุกสนาน ส่วนใหญ่ใช้เกี้ยวพาราสี และเสนอสาระที่ต้องการเฉพาะเรื่อง ทำนองมีหลายทำนอง คือ เต้ยโขง เต้ยพม่า เต้ยธรรมดา และเต้ยโนนตาล
         หมอลำที่แสดงในพิธีกรรม ได้แก่ หมอลำผีฟ้า เป็นการลำที่มีจุดประสงค์ 2 อย่างคือ รักษาคนป่วย หรือ
พยากรณ์ดินฟ้าอากาศ ทำนองลำจะเป็นจังหวะสั้นบ้าง ยาวบ้าง ดนตรีที่ใช้คือ แคน เนื้อหาของกลอนลำจะเป็นการกล่าวถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ผู้ลำอัญเชิญมา ผู้ลำมีคนเดียว หรือมีบริวารเป็นผู้ฟ้อนรำประกอบลีลา การฟ้อนไม่มีแบบแผนแน่นอน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 299 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 297 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 18:42:38  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   111) วงโปงลางเพชรดอนจา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่75)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณโหวดฟ้า:
หุ่นกระบอกของอีสานก็มีครับ ที่ชุมแพก็มีวงหนึ่ง  สนุกมาก

    เคยจ้างมาเล่นที่ ไปรษณีย์ อ.ชนบทครับ สนุกมาก

 
 
สาธุการบทความนี้ : 266 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 266 ครั้ง
 
 
  12 ก.ค. 2553 เวลา 17:15:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   718) โฮมตุ้มผลงานของอ้ายโอ๊ต  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่89)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
อยากวาดรูปเป็นมั่งครับ ใช้เวลาฝึกนานรึเปล่าครับ
เวลานำเสนองานนะ ใช้รูปวาดของตัวเองในการนำเสนอ ดูดีมากๆ
อยากทำได้เหมือนพี่ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 264 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 264 ครั้ง
 
 
  26 พ.ค. 2553 เวลา 19:46:36  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   102) ข้อแตกต่าง ระหว่างกาเต้นก้อนกับไล่งัวขึ้นภู  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่0) ข้อแตกต่าง ระหว่างกาเต้นก้อนกับไล่งัวขึ้นภู      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
กาเต้นก้อน บรรเลงโดย อ.เปลื้อง ฉายรัศมี



ไล่งัวขึ้นภู

[/flash]

 
 
สาธุการบทความนี้ : 258 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 258 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 13:21:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   111) วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่64)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 


ภูไท

 
 
สาธุการบทความนี้ : 247 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 247 ครั้ง
 
 
  19 ต.ค. 2552 เวลา 14:52:55  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
การขับงึมนั้นได้วิวัฒนาการมาจากการอ่านหนังสือเทศน์ หรือ การอ่านหนังสือวรรณกรรมพื้นบ้าน จนกลายมาเป็นขับงึมในปัจจุบัน เนื่องจากขับงึมมีพื้นฐานมาจากพระพุทธศาสนา จึงทำให้เนื้อหาของบทกลอนขับงึมไม่สลับซับซ้อนมากนัก เพราะเนื้อหาของบทเพลงขับงึมมีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสอดแทรกอยู่ด้วยจึงทำให้เข้าใจง่ายสามารถนำมาปฏิบัติได้

ประเพณีการขับงึมถือว่าเกี่ยวข้องกับการทำบุญอุทิศส่วนบุญไปให้ผู้ล่วงลับ ตามคติความเชื่อของประชาชนลาวถือได้ว่า การทำบุญไปให้ผู้ล่วงลับไปนั้น จะต้องเอาขับงึมมาฉลองในงานด้วย เพื่อแสดงถึงความรักสามัคคีซึ่งกันและกัน ระหว่างญาติพี่น้องกับผู้ล่วงลับไปแล้ว จะทำให้ผู้ล่วงลับได้รับความสุข สมหวังในภพที่ตนเองอาศัยอยู่ อีกอย่างหนึ่ง นับเป็นประเพณีที่ได้ยึดถือและปฏิบัติสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษ โดยเฉพาะแขวงเวียงจันทน์จนแพร่หลายในปัจจุบัน

จุดมุ่งหมายของชาวแขวงเวียงจันทน์ ใน“การขับงึม” เพื่อให้ความบันเทิงสนุกสนานแก่ประชาชน ซึ่งไม่เคยเหือดหายไปจากแขวงเวียงจันทน์ การขับงึมเป็นเพลงพื้นบ้านในด้านศิลปะการแสดงที่ได้รับความนิยมสูงสุดของประชาชนชาวแขวงเวียงจันทน์อยู่ในขณะนี้ ไม่ว่างานประเพณีใดๆที่เกิดขึ้นในเขตแขวงเวียงจันทน์ จะต้องมีการขับงึมมาขบกล่อมถ้าหากขาดการขับงึมไป ดูเหมือนว่าในงานนั้นจะอยู่ในความเงียบเหงาไม่มีชีวิตชีวา ดังนั้น การขับงึมจึงเป็นพื้นฐานแห่งความบันเทิงใจของประชนชน และโดดเด่นกว่าการขับลำอื่นๆ ที่มีอยู่ในแขวงเวียงจันทน์ขณะนี้ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนาในการประยุกต์หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาโดยผ่านขบวนการขัดเกลาคนในสังคมโดยใช้ความบันเทิงเป็นสื่อ ในการสั่งสอนจริยธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ถ่ายทอดจริยธรรมทางพระพุทธศาสนาให้กับคนในสังคมได้เป็นแบบอย่างที่ดี ซึ่งผู้คนส่วนใหญ่ที่ได้ยินได้ฟังการขับงึม ที่ถ่ายทอดออกมาเป็นบทเพลงมีความสนุกสนาน แต่แฝงไปด้วยคำสอนของพระพุทธศาสนา เช่น สอนให้รู้จักให้ทาน รักษาศีล ความกตัญญู บาปบุญ และความสามัคคี เป็นต้น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 245 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 244 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 05:16:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   111) วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่62)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณปังคุง:
เห็นด้วยกับพี่โหวดครับ

โอ๊ย

อยากให้พี่โหวดมาเห็นฟ้อนไทพวนที่อุดรจังเลย  ของคนบ้านเชียงทำตอนงานมรดกโลกบ้านเชียง(พี่โหวดรู้ใช่มั้ยครับว่าคนบ้านเชียงเป็นคนเมืองพวน)

บอกตามตรง  ชุดที่เค้าใส่ไม่ใช่ชุดอย่างนี้(แบบออกลื้อน่ะ)เลย  ท่ารำก็ไม่เหมือน  เป็นคล้ายๆ เท่านั้น

ชุดเป็นเสื้อม่อฮ่อม(มั้ง..ดูไกลเวทีแล้ววันนั้นแว่นแตกด้วย  มองไม่ชัด)พาดป้ายด้านหนึ่ง  แล้วก็เป็นผ้าถุงไทพวน  สีดำ  แบบมีลายขีดๆ  ประดับเครื่องเงินบ้าง

ดนตรีฟังแล้วดูศักดิ์สิทธิ์มากเลย  จังหวะกลองก็อีกแบบหนึ่ง  แล้วเวลาวันเทศกาล  คนบ้านเชียงก็แต่งชุดกันอย่างคล้ายๆ ชุดรำกันจริงๆ

ยายผมก็ด้วย  ยายผมเป็นคนไทพวนแท้  แกก็แต่งชุดยังงี้

    
เท่าที่ผมเห็นมานะครับ ชุดการแดงพื้นบ้านเป็นไปในสองแนวทาง คือ
1 ลอกแบบจากต้นแบการแสดงทั้งหมดที่เห็นมา เพื่อนำเสนอตามความเป็นจริงที่เห็นมา ไม่ดัดแปลงปรุงแต่งสิ่งใดๆเข้าไป เช่น การแสดงภูไทโพนสวาง ทั้งดนตรี ควมลำ ท่าฟ้อน ถอดแบบมาจากชาวภูไทโพนสวาง 100%

2 ใช้วิธีการทางนาฏยประดิษฐ์ นำสิ่งที่เห็นมาดัดแปลง ประดิษฐ์ท่ารำให้สวยงามขึ้น ซึ่งผมไม่แน่ใจว่าเป็นสิ่งที่สมควรหรือไม่ แต่ทางวิทยาลัยนาฎศิลป์ก็ทำอย่างนี้มานานแล้ว ตั้งแต่การสร้างการแสดงประกอบวงโปงลางในยูคเริ่มต้น

ในทัศนคติส่วนตัวของผมนั้น สิ่งที่มีอยู๋เดิมน่าจะนำเสนอตามต้นแบบที่มี ส่วนการแสดงวิถีชีวิตต่างๆ ที่ไม่อ้างอิงว่าเป็นการฟ้อนของเผ่าใด สามรถทำได้โดยอิสระเนื่องจากไม่มีกรอบบังคับ เช่น แหย่ไข่มดแดง หาปูหาปลา หาหน่อไม้ ฯลฯ

และอีกอย่างหนึ่งการแดงตามจินตนาการเกี่ยวกับความเชื่อ สามารถทำได้ แต่ต้องตรงกับตำนานที่เล่าขานกันมา เช่น ชุดพญานาค ของหนองคาย ซึ่งอาจารย์ที่สร้างการแสดงชุดนี้เป็นท่านเดียวกันกับ การแดงชุดไทพวน ที่กล่าวมาในข้างต้นครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 243 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 242 ครั้ง
 
 
  19 ต.ค. 2552 เวลา 14:26:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   27) ขอลายเพลงแหน่.........  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณมังกรเดียวดาย:
คุณเด็กน้อย:
ขอบคุณครับ     แต่พ่อโสโชคบอกว่าเป็นลายสาวสะกิดแม่ หรือสาวหยิกแม่นะครับ ไม่ยักรู้ว่าเป้นลายเดียวกัน ยังไงก้อขอบคุณจริงๆนะครับ


ลายสาวน้อยสะกิดแม่ เป็นลายบรรเลงเดี่ยวพิณ (เดี่ยวแคน ลายชื่อนี้ก็มี แต่เดินทำนองคนละแบบ)
ลองฟังอ.ทองใส ทับถนน บรรเลงดูครับ แล้วเปรียบเทียบเอาเอง ว่าใช่ลายเดียวกันหรือไม่

เดี่ยวพิณลายสาวน้อยสะกิดแม่ โดยทองใส ทับถนน

    ลายสาวน้อยหยิกแม่หรืลายสาวน้อยสะกิดแม่  เดิมเป็นลายของแคนเนื่องจากสมัยนั้นแคนเป็นเครื่องดนตรีที่มาตรฐานที่สุด  เพราะสามารถเล่นลายต่าง ๆ ได้หลายลาย  โดยส่วนมากทั้งคนหนุ่มเด็กชายและคนชราจะเป่าแคนเป็นเกือบทุกคน  หลังจากที่เสร็จฤดูเก็บเกี่ยวหรือเสร็จจากการทำนา  จะอยู่ในช่วงของหน้าหนาว  ในเวลากลางคืนชายหนุ่มก็จะเป่าแคนไปหาเล่นสาว  หรือไปจีบสาวบ้านนั้นบ้านนี้  ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่สาว ๆ พากันมาลงข่วงเข็นฝ้าย  
ลายสาวน้อยหยิกแม่นั้น  ได้แตกออกมาจากลายใหญ่  และสามารถที่จะแตกออกไปเป็นลายน้อยได้  เนื้อบางตอนก็สามารถจับใจความจากการจินตนาการมาจากเสียงของการแกว่งหลาที่สาว ๆ ใช้ปั่นฝ้าย  ฟังเสียงการแกว่งหลานี้คล้ายกับคำพูดที่ชักชวนชายหนุ่มให้มาแวะเวียนพูดคุย  ดั่งคำเชิญชวนว่า  “แวนแว แวนแว แวนแว คั้นอ้ายบ่แวนี้โตอ้ายสิแวไส” และเช่นเดียวกันกับสาวซำน้อยที่นอนอยู่ในบ้านกับแม่ เมื่อได้ยินเสียงแคนของชายหนุ่มเป่าผ่านมา หากฟังดูแล้วไพเราะจนครั่งไคล้ จนเกิดความรักชอบคนเป่าแคนจนนอนไม่ได้ จึงได้สะกิดหรือหยิกแม่จนสะดุ้งตื่นขึ้นมา บางครั้งแม่เกิดความรำคาญมาก ๆ อาจจะดุด่าว่ากล่าวไปบ้างในบางครั้ง
ลายสาวน้อยหยิกแม่  เป็นลายที่มีจังหวะเร็วสนุกสนานเร้าใจ  มีท่วงทำนองถี่กระชั้น  เหมือนกิริยาอาการหยิกข่วน  ให้ภาพลักษณ์สาวน้อยที่อัดอั้นตันใจ  ที่แม่ไม่ให้ออกมาคุยกับหนุ่มที่ออกมาเป่าแคนเกี้ยวสาวในตอนกลางคืน  แม่อ้างกับหนุ่มว่าลูกสาวนอนหลับแล้ว  ลูกสาวจึงโกรธแต่ไม่กล้าพูด

การเลียนแบบทางลายดนตรี สามารถเกิดขึ้นได้ได้เสมอครับผม ตัวอย่างเช่น อ.บุญมา เขาวง บรรเลงลลายลำเพลิน ทางแซค(แซคโซโฟน) หรือสีซอลายลำเพลินทางแซค
แล้วถามว่าแซคเลียนแบบลายนี้มาจากไหน แซคก็ว่าเอามาจากพิณ แล้วพิณเอาทางแซคมาจากไหน เอามาจากการเป่าลายลำเพลินของแซค ซึ่งบางลูกบางทำนอง แซคทำตามไม่ได้ อย่างเช่น การกรอ จึงใช้การพรมนิ้วแทน ต่อมาผู้บรรเลงพิณเกิดความประทับใจในการบรรเลงลายลำเพลินของแซคโซโฟน จึงนำมาเลียนแบบ และทำตามแซคโซโฟนได้ย่างละเอียด และพิณสามารถเล่นลูกพรมนิ้วได้ จึงเป็นลายลำเพลินทางแซคครับผม

ในลายสาวน้อยหยิกแม่ก็เช่นกัน ที่แน่นอนก็คือ เดิมเป็นลายแคนและแตกออกมาจากลายใหญ่
ที่กล่าวมาในข้าต้นไปนไปได้ 3 กรณีคือ
1 โหวดเลียนแบบพิณ
2 พิณเลียนแบบโหวด
3 ต่างคนต่างรู้จักลายแคนลายนี้ แล้วต่างคนต่างทำ เหมือนกับสุดสะแนน หรือ ลำเพลิน ที่มีหลายทางอันเกิดขึ้นมาจากการสร้างสรรค์ผลงานภายในกรอบและโครงสร้างของลาย

ยังไม่ขอสรุปนะครับในเรื่องของสาวน้อยหยิกแม่ของพิณกับโหวดซึงผมมีข้อสันนิษฐานพร้อมเหตุผลแล้วในใจตอนนี้ แต่จะเรียนถามอาจารย์ทั้งสองท่านก่อน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 242 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 242 ครั้ง
 
 
  26 ต.ค. 2552 เวลา 15:48:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   648) ท่านคิดอย่างไรกับการประกวดโปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย มาจอยกัน  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่38)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:
ซึ่งในการประกวดดนตรีนั้นคือการประกวดการแก้ปัญหา และแสดงออกทางความคิดสร้างสรรค์

คือ ลายดนตรีลายหนึ่งก้อาจแตกออกเป็นหลายๆรูปแบบได้

ดังนั้นกรรมการควรจะดูตรงที่ว่า ทั้งวงสามารถบรรเลงร่วมกันได้สอดคล้อง สามารถแก้ไขปัญหาร่วมกันได้หรือไม่ โดยไม่เน้นความถูกผิดของลายเพราะถือว่า ลายเพลงนั้น ต้นเค้าเดิมก็มีอยู่แล้วและแต่ละสายก็มีการสืบทอดลายมาไม่เหมือนกัน

ดังนั้นการแข่งขันจึงไม่ควรเรียกว่า ลายบังคับ แต่น่าจะเรียกว่า ลายที่กำหนด เสียมากกว่า

เพราะการแข่งขันวงโปงลาง คือ การเส้นทางในการพัฒนา  

กรรมการเองก็ไม่ควรยึดติดกับความถูกผิด แต่น่าจะดูที่ความคิดสร้างสรรค์ โดยเน้นที่ความไพเราะ เสนาะ งดงาม และกระตุ้นอารมณ์ต่อผู้ชมอย่างไร แต่ก็ควรอยู่ในขอบเขตที่ไม่นอกลู่ นอกทางมากนัก ก็น่าจะเพียงพอแล้วสำหรับการพัฒนาและการแข่งขันของวงโปงลาง

    เห็นด้วยอย่งยิ่งครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 241 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 240 ครั้ง
 
 
  20 ต.ค. 2552 เวลา 14:34:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   111) วงโปงลางเพชรดอนจา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่74)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณสุดสะเเนน:
ด้วยเหตุประการเหล่า  นี้  ความงามทางวัฒนธรรม ค่อยๆๆ จางหายจากชาวอีสาน

    เราต้องคอยนำเสนอความจริงของความเป็นพื้นบ้าน ครับผม  
เป็นคน ดนตรี นาฏศิลป พื้นบ้านแล้ว ให้ถือว่าเป็นหน้าที่ของ ดนตรี นาฏศิลป์คนพื้นบ้านทุกท่านครับ ศึกษาให้เข้าใจ ให้รู้ลึกรู้จริง และอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ในสิ่งที่เรารู้
ทำให้ผู้อื่นเห็นพ้องต้องกันด้วยความยอมรับนับถือ  แล้วจะเกิดประโยชน์สูงสุดครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 239 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 239 ครั้ง
 
 
  12 ก.ค. 2553 เวลา 17:12:49  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   910) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่64)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ถึงผมจะไม่ได้เข้า ไม่เป็นไร ชิว ชิว แต่ลูกๆผมได้เข้าก็ โอเคแล้วล่ะ

ผม ครูมอส คุมวงโปงลางโรงเรียนบ้านดู่ใหญ่ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 232 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 232 ครั้ง
 
 
  29 ก.ค. 2553 เวลา 17:16:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่17)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
เกิดจากความเชื่อเรื่องผีฟ้า ผีแถน และผีบรรพบุรุษ ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าผีเหล่านี้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เกิดภัยธรรมชาติและความเจ็บป่วยแก่มนุษยได้ มนุษย์จึงทำพิธีกรรมรักษาผู้ป่วยตามวิธีการของหมอผี คือการขับ ลำผีฟ้า ลำส่อง ลำทรง แล้วพัฒนาการเป็นลำพื้น และลำกลอนตามลำดับ    

ผมพอจะเข้าใจแล้วครับ หมอลำพื้นไม่ใช่หมอลำชนิดแรก เพราะว่าผู้ที่ลำผีฟ้า ก็เรียกหมอลำผีฟ้า แต่หมอลำพื้นน่าจะเป็นหมอลำชนิดแรกที่ ลำเพื่อการบันเทิง

ความหมายคำว่าหมอลำ ที่บอกว่าผู้ที่เล่านิทานได้หลายเรื่องก็นับเป็นหมอลำ
พี่โหวดฟ้ามีความคิดเห็นว่ายังไงครับ

ส่วนการขับงึมที่เคยกล่าวถึงผมขอเพิ่มเติมนะครับ ทำนองของขับงึมนั้นมีมาก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเข้ามาถึง ใช้ในพิธ๊กรรมในการบวงสรวงเทพเจ้า และต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนาเข้ามาถึงจึงนำทำนองดังกล่าวนี้มาใช้ไนการขับงึมครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 227 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 227 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 18:54:17  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   100) สุดสะแนน พิณ  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่0) สุดสะแนน พิณ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 


สุดสะแนน บรรเลงโดย กี้ ปรีชา อ่อนธรรม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 227 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 227 ครั้ง
 
 
  22 ต.ค. 2552 เวลา 20:42:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   806) การประกวดวงโปงลางชิงถ้วยพระราชทาน งานมหกรรมแพรวากาชาดกาฬสินธุ์ 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่78)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
หากจะแข่ง ทำชุดการแสดงแสงสีเสียง ก็เพิ่มรางวัลให้มันถึงล้านหน่อยสิ สร้างประวัติศาสตร์ไปเลย จะได้ไม่มีคนว่าเว้าพื้นทีหลังด้วย สมเหตุสมผล สมราคา ว่ามั้ยครับพี่น้อง

อันนี้อะไร แข่งวงโปงลางอะไรใช้คนตั้งเยอะ น่าเกลียด

น่าจะทำเป็นโชว์ไปเลย วงเดียวเล่นไปเลยจะดีกว่า แค่วงเดียวก็ลายตาแล้ว ไหนจะเปลี่ยนกันเล่นตั้งหลายวง รกตายเลย

ทำโชว์วงเดียวผมว่าน่าดูนะ ดีกว่าขนคนมาแข่งกัน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 221 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 221 ครั้ง
 
 
  25 มี.ค. 2553 เวลา 18:27:05  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   602) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4 ประจำปี 2552  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่95)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ผมเคยใช้ไหดีดเป็นเบส บรรเลงร่วมกับเครื่องประกอบจังหวะอื่นๆ ในการสอบบรรเลงเดี่ยวของผมครับ ประทับใจกรรมการครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 219 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 219 ครั้ง
 
 
  19 ต.ค. 2552 เวลา 01:14:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่14)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
สงสัยจะต้องคุยกันยาว อีกกี่ปีไม่รู้
ผมก้ยังไม่เจองานวิจัยที่เนื้อหาครอบคลุมในเรื่องดังกล่าว
ที่ว่าไม่เจอก็ไม่ใช่ว่าจะไม่มี แต่ถ้าไม่มีจริงๆ คงต้องลุยกันเอง
ได้คำตอบแล้วมาคุยกันใหม่อีทีครับ
ผมจะลองไปถามอาจารย์ที่สถาบันวิจัย ม.เก่า ดูครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 218 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 218 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 11:38:19  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   51) การแสดงสดจากวงศิลป์อีสาน มมส.  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
พูดถึงมือกลองหาง ตอนนี้ผมชอบ ไอ้เจ้า เอกราช ที่เรียนอยู่นาฏศิลป์กาฬสินธุ์ หมอนี่นีฝีมือดีแต่แรงเยอะไปหน่อย ปรับเรื่องความดังเบาอีกนิดนึง สุดยอด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 217 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 217 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 16:27:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ความหมายของคำว่าหมอลำ
“ หมอลำ ” ได้มีผู้ให้คำนิยามที่หลากหลายไว้ เช่น หมอลำ หมายถึง ผู้ชำนาญในการขับร้อง / ผู้ชำนาญในการเล่านิทาน หรือผู้ที่ท่องจำเอากลอนมาขับร้องหรือลำ หรือ หมอลำ หมายถึง การขับลำนำด้วยภาษาถิ่นอีสานประกอบเสียงดนตรี ” แคน ” กล่าวโดยสรุป หมอลำ ก็คือ ผู้เชี่ยวชาญในการขับลำนำหรือการขับร้อง โดยการท่องจำจากกลอนลำ หรือบทกลอนที่มีผู้ประพันธ์ขึ้นเป็นภาษาถิ่นอีสาน หรืออาจจะหมายถึง ศิลปะการแสดงพื้นเมือง หรือมหรสพอย่างหนึ่งของชาวอีสาน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 212 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 212 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 18:31:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   911) ประกวดวงดนตรีพื้นบ้าน 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
พร้อมจะลุยกันมานานแล้ว

วันนี้คุณซ้อมรึงยัง

ทำผลงานออกมาให้สนุกนะครับแล้วงานเราจะน่าดู

สู้ๆครับ ทำให้เต็มที่

ทราบลายเดี่ยวกันแล้วนะ ศึกษาโครงสร้างลายและองประกอบของลายนั้นๆให้ดี
นำมาพลิกแพลงใช้ และฝึกฝนให้ชำนาญครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 212 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 212 ครั้ง
 
 
  13 มิ.ย. 2553 เวลา 21:46:44  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   89) ลายดนตรี (อีสาน)  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่20)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
เห็นด้วยอย่างยิ่งครับอาจารย์ เขาคือสิบ่เอิ้นหลวงพ่อว่าหมอลำดอก 5555.....    

ที่คาใจอยู่หลายเรื่องหายสงสัยแล้วครับ

ขอบคุณหลายๆครับอาจารย์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 209 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 209 ครั้ง
 
 
  24 ต.ค. 2552 เวลา 09:59:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   648) ท่านคิดอย่างไรกับการประกวดโปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย มาจอยกัน  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่39)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
น่าแปลกที่การแข่งขันโปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย ไม่ใช่ถ้วยพระราชทานครับ เห็นแต่รายการอื่นเขารับถ้วยพระราชทานเยอะแยะเต็มไปหมดเลย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 206 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 205 ครั้ง
 
 
  20 ต.ค. 2552 เวลา 14:40:25  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   101) ลายเดี่ยวโปงลาง  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่0) ลายเดี่ยวโปงลาง      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 



 
 
สาธุการบทความนี้ : 206 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 206 ครั้ง
 
 
  22 ต.ค. 2552 เวลา 23:15:16  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1102) ประกวดวงโปงลาง งานกาชาด จ.กาฬสินธุ์ ชิงถ้วยพระเทพฯ เชิญมาแข่งนำกันนะครับ  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่17)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
   การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง (รางวัลถ้วยพระราชทาน ก . ข . ค. ) งานมหกรรมโปงลาง แพรวาและงานกาชาดจังหวัดกาฬสินธุ` ประจำป) 2554

                                     เกณฑ`การตัดสิน
1. การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง (รางวัลถ้วยพระราชทาน ก . ข . ค. )

    เกณฑ`การประกวด
1. พิจารณาคัดเลือกจาก VCD เหลือไว้รอบชิงชนะเลิศ ประเภทละ 3 วง
2. เริ่มการแสดงเวลา 19.00 น. ก่อนการแสดงทุกวงต้องเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งวง
ก่อน 1 ชั่วโมง
3. เวลาที่ใช้ในการแสดง วงละ 90 นาที ไม่น้อยกว่า 80 นาที
4. กรณีแสดงเกินเวลาหรือไม่ครบตามเวลาที่กำหนด คณะกรรมการจะตัด 3 นาทีแรก 1 คะแนน
ต่อจากนั้นจะตัดนาทีละ 1 คะแนน
5. การแสดงเป6นอัตลักษณ8 หรือ เอกลักษณ8ของท้องถิ่น หรือจังหวัดที่อาศัยอยู่
6. การแสดงพื้นบ้านอีสานอื่นๆ (ถ้ามี) ระยะเวลารวมกันแล้วไม่เกิน 90 นาที
7. การแสดงเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย8หรือพระบรมวงศานุวงศ8 1 ชุด
8. การแต่งกายและเครื่องประดับให้เน้นแบบพื้นบ้านอีสาน
ประเภทถ้วย ก
ถ้วยพระราชทานพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับไม่เกินมัธยมศึกษาตอนปลาย
หรือเทียบเท่า ต้องเข้าประกวดในนามของโรงเรียนหรือสถานศึกษาเท่านั้น (เปิดรับต่างจังหวัด)
ลายบังคับประเภท ก
1. เดี่ยวโปงลางลายกาเต้นก้อน ต่อด้วยลายโปงลาง
2. ลายแมงภู่ตอมดอก
3. ลายลมพัดพร้าว
4. ลายสุดสะแนน
5. ลายนกไซบินข้ามทุ่ง
6. ทุกลายที่บรรเลงจะต้องมีการแสดงประกอบตามความเหมาะสมและถูกต้อง
7. เพลงลูกทุ่งอีสานหรือลูกทุ่งหมอลำหรือลูกทุ่งดั้งเดิมและต้องมีการแสดงประกอบ
ไม่ต่ำกว่า 2 เพลง
8. ผู้แสดง จำนวน 60 - 80 คน
9. เวลาที่ใช้ในการแสดง 80 - 90 นาที

 
 
สาธุการบทความนี้ : 206 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 205 ครั้ง
 
 
  15 ก.พ. 2554 เวลา 17:32:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1183) การประกวดดนตรีพื้นเมือง (โปงลาง) ระดับมัธยมศึกษา ชิงแชมป์ภาคอีสาน  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่47)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
เรื่องนี่เสียใจมากที่สุด คือ ไม่มีอุปกรณ์  ที่ใช้ติดต่อสื่อสารกับนักดนตรีบนเวที่   ทำให้ไม่สามารถสั่งการนักดนตรีได้ และเริ่มทำการแสดงก่อนทุกอย่างจะลงตัว  ซึ่งปกติ มันมีครับ หากจะหนีจากมิกซ์ล่าง  ก็ไม่ค่อยมั่นใจ  เพราะมือมิกซ์กลางเจ้าของเครื่องเสียงไม่ได้ดูแลในวันชิงชนะเลิส  สถานะการณ์วันนั้น  กดดันมากๆ  ผมอาจจะเครียดเกี่ยวกับความไม่เข้าอกเข้าใจกันกับเพื่อนร่วมงาน  หากผมแสดงกิริยาอาการอะไรที่ไม่ค่อยดี  ก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยครับ  ยังรักพี่น้องลูกศิษลูกหาทุกคนคือเก่า

ส่วนในเรื่องการตัดสิน  ไม่ติดใจอะไรครับ  เที่ยงธรรม  และเป็นมาตรฐานมากๆ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 206 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 206 ครั้ง
 
 
  28 ม.ค. 2555 เวลา 15:55:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   111) วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่63)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณโหวดฟ้า:
ลายขิดขาวดำของชุดฟ้อนไทพวนนั้น เป็นลายขิดฝ้ายของจังหวัดชัยภูมินี่ครับ

วิทยาลัยควรเป็นแบบอย่างที่ถูกต้องนะครับ

และ ลาวพวนนั้น ก็ไม่ได้แต่งกายเช่นนี้ นี่มันชุดไทลื้อ

ผมอยากให้มีการยกเลิกชุดฟ้อนนี้ และมีการวิจัยกันใหม่
การฟ้อนของอีสานนั้น จะถูกต้องตรงตามแบบแผนและจิตวิญญาณของชาวอีสานเพิ่มมากขึ้น

ที่สำคัญ ฟ้อนไทพวนนี้ ก็ถ่อกันไปเก็บท่า คำร้อง ทำนอง มาจากประเทศลาว ซึ่งแต่เดิมนั้น ก็ได้มีการไปศึกษาวิจัยโดยท่านอาจารย์จาก ม มหาสารคามหลายท่าน
ซึ่งก็ได้ปรากฏเป็นภาพวิดีโอการฟ้อนของชาวไทพวน ที่ได้ตั้งวงฟ้อนอยู่ใต้ถุนบ้านของเขาเพื่อเป็นการต้อนรับแขก เนื้อร้อง ท่าฟ้อน ทำนองลำ มาจากภาพวิดีโอการฟ้อนจากใต้ถุนบ้านนี้ทั้งสิ้น

ซึ่ง การฟ้อนไทพวนนั้นมันเหมือนการ หายใจด้วยรูจมูกของคนอื่น
และหลายๆสถาบัน โรงเรียนต่างๆ ก็ผิดเพี้ยนกันไปหมด
ไม่รู้ด้วยซำ้ว่า อันไหนเป็นของอีสาน อันไหนเป็นของลาว

จริงอยู่ว่า ได้มีการกวาดต้อนผู็คนลงมาจากเมืองพวน เมื่อครั้งปราบกบฏลาวพวนจริง


แต่ ลาวพวนในอีสาน ก็ได้กลายมาเป็นชาวอีสานแล้วอย่างเต็มตัว
น่าที่จะใช้การวิจัยจากจุดนี้มาเป็นหลักมากกว่า

เพราะอีสานก็คือไทย และไทย ไม่ใช่ลาว
และลาว ในอดีต ก็เป็นคนละพวกกับพวกลาวพวน กล่าวคือ ลาวพวนนั้น เป็นลาวเทิง ที่ได้รับการสนับสนุนโดย อาณาจักร ญวณ

ส่วนลาวลุ่ม หรือลาวเวียงนััน ก็คือส่วนหนึ่งของบรรพบุรุของชนชาวอีสานในปัจจุบัน

อีสานจึงเป็น สหมนุษยวิทยาชาติพันธุ์ โดยแท้จริง (ผมนิยามเอง)

และถามหน่อยว่า มีใครเคยพบเห็นการแต่งกายและการฟ้อนเช่นนี้ในบริเวณประเทศไทยบ้าง
ช่วยเอาข้อมูลมาลงที่ ผมจะไปดู

เพราะถ้าไม่มีแล้ว ก็เลิกฟ้อนกันซะที กับ การแสดงชุด ไทพวนนี้

     พี่โหวดฟ้าอยากไปภาคสนาม ไทพวนบ้านเชียงมั้ยครับ ถ้าพี่โหวดฟ้าได้ทำงานที่ มข. ก็ลองเสนอ เรื่องภาคสนามชาวพวนดู ถ้าหากได้ไปจริงก็ทำชุดการแสดงตามแบบชาวพวน แล้วนำมาหักล้างของเก่าที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ทำไว้โดยการนำเนอความจริงครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 202 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 202 ครั้ง
 
 
  19 ต.ค. 2552 เวลา 14:39:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   103) ลำลาว  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ลำบ้านซอก คำใส จันพิมพา .ขุนทวีลูกบ้าซอก


 
 
สาธุการบทความนี้ : 200 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 200 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 21:15:37  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   102) ข้อแตกต่าง ระหว่างกาเต้นก้อนกับไล่งัวขึ้นภู  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
อ.เปลื้อง ฉายรัศมี เคยบรรยายไว้ในการสัมมนาครั้งหนึ่ว่า ลายกาเต้นก้อน กับ ไล่งัวขึ้นภูมีความแตกต่างกันตรงที่ช่วงท้ายของไล่งัวขึ้นภูจะมีลูกที่ออกทางสร้อยในช่วงท้ายก่อนจะจบลาย ส่วนกาเต้นก้อนนั้นจะไม่ออกลูกสร้อย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 199 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 199 ครั้ง
 
 
  23 ต.ค. 2552 เวลา 13:30:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   648) ท่านคิดอย่างไรกับการประกวดโปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย มาจอยกัน  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่33)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:
แต่ในกรณีที่ผมประสบพบเจอมา คือคณะกรรมการจะตัดสินจากสายหรือรูปแบบของตนว่าถูกต้องแล้วตัดสินว่าผู้ที่เล่นไปทางสายอื่นนั้นไม่ถูก

(เช่น คณะกรรมการเล่นดนตรีแนว A ก็จะตัดสินให้วงหรือผู้ที่เล่นแนว A ได้คะแนน

.....ส่วนผู้ที่เล่นแนว B คณะกรรมการก็ตัดสินว่าไม่ถูกต้อง เพราะถือว่าไม่ได้เล่นตามสายหรือแนวของตน)

ซึ่งผมให้ข้อแนะนำไว้ข้างต้น ก็เพราะมันเกิดปัญหานี้แหล่ะครับ

กรรมการความรู้น้อยหรือเป็นพวกใจแคบไม่ยอมรับสายอื่น มันก็มีเยอะนะครับ

    
อ่อพอเข้าใจครับ เคยเห็นเหมือนกัน  กรณีอย่างนี้เกิดขึ้นบ่อยในระดับมัธยมครับ ซึ่งถ้าหากเล่นตามลายเพลงของเขาก็คงจะต้องเล่นตามต้นแบบที่เขากำหนดมาอย่างที่พี่โอ๊ตว่าล่ะครับ

และมีสาเหตุมาจาก การอณุรักษ์อย่างไม่ถูกทาง ยึดติดกับลายเพลงมกว่าความเป็นแก่นแท้ของพื้นบ้าน ซึ่งแท้ที่จริงแลว สิ่งที่เรียกว่า ลายเพลง คือผลงานสร้างสรรค์ประพันธ์ขึ้นใหม่ของศิลปิน แบ่งให้เห็นเป็นท่อนต่างๆได้อย่งชัดเจนและมีท่อนจบ อาจจะดัดแปลงหรือถอดความมาจากลายหลัก หรืออาจคิดทำนองขึ้นใหม่ตามจินตนาการ  

สิ่งที่ชี้ถูกผิดคือการตีกรอบครับ เช่นถ้าบอกว่าจะบรรเลงลาย ลมพัดพร้าว ก็ต้องบรรเลงตามอย่างที่เขาทำมาครับ

กรณ๊ที่บางลาย ชื่อ ลายเดียวกัน แต่มีหลายทาง เช่น ลายเซิ้งกะโป๋
ก็ยังแบ่งเป็น ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ก็ต้องนำข้อมูลไปหักล้างกับกรรมการ
หากลายนั้นมีหลายทางจริง

เซิ้งกะโป๋ ที่แบ่งเป็น สองทางดังที่กล่าวมา แท้จริงแล้ว เซิ้งกะโป๋เป็นชื่อชุดการแสดงไม่ใช่ชื่อเพลง แต่จะเรียกเป็นชื่อลายเพลงนั้น ๆ ก็ไม่นับว่าผิดครับ เนื่องมาจากการแสดงนี้นำเสนอการละเล่นของอีสานใต้ จึงต้องนำเพลงอีสานใต้มาใช้ประกอบการแสดงซึ่งเพลงเหล่านั้น มีชื่ออยู่แล้ว เป็นสาเหตุหนึ่ง ที่บางลายเล่นเหมือนกันแต่เรียกไม่เหมือนกันครับ


เราคนพื้นบ้านรุ่นใหม่ต้องช่วยกันนำเสนอความจริงครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 196 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 196 ครั้ง
 
 
  20 ต.ค. 2552 เวลา 00:37:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   648) ท่านคิดอย่างไรกับการประกวดโปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย มาจอยกัน  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่30)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:
เกณฑ์การกำหนดข้อบังคับในการประกวด

1.การที่มีลายเพลงบังคับควรจะมีต้นแบบให้ฟัง หรือdownloadได้ เพื่อเป็นการลดปัญหาว่าแต่ละท้องถิ่นนั้นมีสังวาสในการเล่นที่ไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะลายเดี่ยวที่บางท้องถิ่นชื่อเดียวกันแต่เล่นต่างกัน
(เพราะในแต่ละที่ย่อมมีวาดหรือทางในการเล่นที่ไม่เหมือนกัน หากมีต้นแบบเพื่อเป็นการบังคับให้วงได้เล่นหรือบรรเลงตามให้ได้เหมือนหรือใกล้เคียงมากที่สุด
คณะกรรมการก็จะสามารถตัดสินได้ง่ายๆว่า วงใดเล่นได้ใกล้เคียงหรือด้อยกว่า ก็จะตัดสินจากเพลงต้นแบบนั่นเอง)


2.มีการกำหนดหัวข้อการประกวด ว่ามุ่งเน้นการบรรเลงหรือการแสดงอย่างไร
(การประกวดจัดโดยกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา ก็น่าจะกำหนดหัวข้อให้ส่งเสริมการท่องเที่ยวอีสานไปด้วย เช่น การแสดงชุดฟ้อนที่แสดงเอกลักษณ์สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัด หรือมีบทร้องในการเชิญชวนท่องเที่ยวในจังหวัดต่างๆ เป็นต้น)

    
ครับผม ในเรื่องลายที่บังคับนะครับ ขออธิบายว่าหลักของดนตรีพื้นบ้านคือการด้นครับ คำว่า"ด้น"ในที่นี้หมายถึง การบรรเลงสร้างสรรค์เพื่อแสดงความสามารถเฉพาะตัวของผู้บรรเลง แต่อยู่ในกรอบโครงสร้างของลายนั้นๆครับ ซึ่งคณะกรรมการและผู้เข้าแข่งขันที่มีฝีมือเข้าใจโครงสร้างของสร้างของลายนั้นๆก่อนแข่งขันอยู่แล้วครับจึงสามารถผ่านการคัดเลือกได้ ดังนั้นการบรรเลงตามแบบให้ถูกต้องตามที่กำหนดให้ น่าจะเป็นเพียงการการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน ไม่ใช่การประชันฝีมือครับผม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 194 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 194 ครั้ง
 
 
  19 ต.ค. 2552 เวลา 22:31:40  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   950) ประวัติวงโปงลางคณะฟ้าผู้ไทย  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณตาที่ยืนตรงกลาง ใช่มือพิณวงหนุ่ม มะพร้าวห้าวรึเปล่า  เคยเห็นท่าน ไปเล่นพิณที่บ้านหนองโอ หนองสูง (เล่นให้พ่อใหญ่สมลี) ท่านเก่งทฤษฎีดนตรีฝรั่งมากเลยที่เดียว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 191 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 191 ครั้ง
 
 
  30 ก.ค. 2553 เวลา 12:35:51  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   911) ประกวดวงดนตรีพื้นบ้าน 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่18)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณต้องแล่ง:
คุณสุดสะเเนน:
ขอถามบางอย่างนะครับ ในระเบียบการเเละข้อบังคับ
เเละในการเดี่ยวเครืองดนตรีที่ว่า
          ประเภทที่ ๒ อายุไม่เกิน ๒๕ ปี
- โหวด ลายลำเพลิน
- พิณ ลายเซิ้งบั้งไฟ
- แคน ลายรถไฟไต่ราง
- โปงลาง ลายสุดสะแนน

  โดยเฉพาะเเคน  ลายรถไฟไต่ราง  มันเป็นยังไงครับ


ตามความคิดของผม  ควรนำสุดยอดลายมาประกวด   เช่น
     - ลายแคน  "สุดสะแนน"
     - ลายพิณ  "ปู่ป๋าหลาน"
     - ลายโปงลาง "ไล่งัวขึ้นภู"  หรือ  "กาเต้นก้อน"    

แล้วลายแคน "รถไฟไต่ราง" เป็นลายส่วนตัวที่หมอแคน สมบัติ  สิมหล้า  ประดิษฐ์ขึ้น  หาใช่ลายเก่าแก่ดั้งเดิมแต่อย่างใดไม่    จึงไม่แปลกทีน้องเขาจะถามว่า  ลายนี้มันเป็นยังไง

ลายที่ว่ามาจะทำให้สุดยอดก็สุดยอดนะ ขึ้นอยู่กับทักษะไหวพริบและปฏิภาณฃองผู้บรรเลงครับผม  พี่น้องคอยดูลายรถไฟให้ดี ผมเห็นหลายคนกำลังฝึกซ้อม ฟังดูเข้าท่า สนุกดีครับ

ลายลำเพลินที่ผมใช้ในการแข่งขัน อาจจะเป็นสิ่งที่ผมทำขึ้นใหม่ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่นี้ ก็ล้วนเกิดจากสิ่งที่อาจารสอนภายใต้กรอบโครงสร้างของลายอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ครับ คอยชมคอยเช๊ยร์และส่งแรงใจให้ด้วยนะครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 184 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 184 ครั้ง
 
 
  16 มิ.ย. 2553 เวลา 20:45:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   910) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่123)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ขอบคุณครับที่ทำให้หายแครงใจ

เขาก็ว่าวงผมคนเกิน ในระเบียบบอกว่า ผู้เล่น 25 คน ตัวสำรอง 2 คน

ผมก็ส่งไปอย่างนี้ทุกปี่ ที่ว่า 25 คนในปีนี้ รวมตัวสำรองด้วยรึเปล่าครับ แต่ผมไม่ได้เป็นคนทำเอกสารนะ ก็เลยไม่เห็นว่าอะไรเป็นยังไงบ้างครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 182 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 182 ครั้ง
 
 
  17 ส.ค. 2553 เวลา 15:28:00  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1007) การประกวดวงโปงลาง ฟ้อนลำแคน คอนเทสต์ 2010 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่131)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ชอบเพลงที่ปิดวงของ ศรีสงคราม

"ยกมือขึ้น บ๋ายบาย เป็นความหมายว่าอ้าย ลาก่อน "

ของเคยเห็นแต่ ยอดรัก สลักใจ ร้องตอนผมเป็นเด็กน้อย

มักหลาย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 180 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 180 ครั้ง
 
 
  22 พ.ย. 2553 เวลา 21:43:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   910) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่120)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
ขอแสดงความยินดีด้วยครับผม สำหรับ ม. ข.ที่ชนะเลิศ ในการแข่งขันครังนี้

การตัดสินครั้งนี้เริ่มต้นที่เอกสาร นะครับ ไม่ใช่ที่ vcd ถ้าเอกสารไม่ผ่าน ก็หมดสิทธิ์  คัด vcd

วงต่างๆ อ่านโจทย์ให้เข้าใจ อธิบายให้ละเอียดทุกชุดการแสดง รูปแบบการแต่งกาย แนวความคิด เหตุผลในการจัดองค์ประกอบต่างๆ โดยอิงความรู้ในดนตรีนาฏสิลป์พื้นบ้าน บอกตำแหน่งผู้เล่นต่างๆให้ชัดเจน ผมได้ยินคำว่าตกเอกสาร  มันก็ยังไงพิกล มีอย่างนี้ด้วยหรือ ทำไมไม่แจ้งให้ทราบแล้วปรับปรุงแก้ไข แล้วนำไปคัดเลือก vcd ทุกวง ได้ยินคำว่าตกเอกสารแล้วน่าเสียดาย วงต่างที่มีฝีมือ แต่จะเอาอย่างนี้ก็ได้ครับ มีฝีมืออย่างเดียวไม่พอ ต้องมีความรู้ด้วยครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 177 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 177 ครั้ง
 
 
  17 ส.ค. 2553 เวลา 14:32:26  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   910) การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553  
  คนกอดแผ่นดิน ศิลปินรากหญ้า    คห.ที่12)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 18 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 94
ให้สาธุการ : 45
รับสาธุการ : 163250
รวม: 163295 สาธุการ

 
คุณโหวดฟ้า:
อืม ได้ยินว่า วงบ้านไผ่ก็จะส่งนีครับ ซุ่มเชียว มีบาส เป่าโหวด และกุ้ง มมส ตีโปงลาง

ส่วนน้องมหา เป็นกำลังใจให้นะครับ

    
ก็ขอขอคุณนะครับนะ  บ้านไผ่ไม่ได้ส่งนี่ครับ เมื่อคืนก็คุยกับเด็กบ้านไผ่อยู่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 175 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 175 ครั้ง
 
 
  01 ก.ค. 2553 เวลา 10:37:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2

   

Creative Commons License
การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานฯ ประจำปี 2553 --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ