ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 29 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
ชื่อว่าสงสารซังกงเกวียนกำฮอบ เวรหากมาคอบแล้ววอนไหว้ก็บ่ฟัง แปลว่า ขึ้นชื่อว่าวัฏฏสงสาร ย่อมหมุนวนดังล้อเกวียน เมื่อถึงคราวกรรมมาให้ผล ไม่มีใครทัดทานได้ หมายถึง ผลของกรรม ไม่มีใครบังคับได้ ไม่มีใครทัดทานได้ ดังนั้น พึงทำแต่กรรมดี


  ล็อกอินเข้าระบบ  
ชื่อ ::
รหัสผ่าน::
*จำสถานะ
 
  รวมมิตรปลาร้านอกไห  
  สวัสดีครับ

     แทบจะไม่มีใครล่วงรู้อย่างลึกซึ้งเลยว่า มีเรื่องราวที่คุณไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่า ในภาคอีสานของประเทศไทยนั้น หลายอย่างมีความเป็นมาอย่างไร หลายอย่างได้เกิดขึ้นแล้วและยังคงอยู่ หลายอย่างเกิดขึ้นแล้ว และได้เลือนลางหายไปแล้วในอดีต เราและทีมงานปลาร้านอกไห จะนำพาคุณผู้ชม จูงมือเดินไปเรียนรู้วิถีชีวิตพื้นบ้านอีสานในแง่มุมต่างๆ เพื่อเปิดโลกทัศน์และมุมมองว่า ทำไมคนภาคอีสานจึงเป็นอย่างนี้ ทำไมต้องใช้ชีวิตกันอย่างนี้ และสิ่งหนึ่งที่จะลืมเสียไม่ได้ก็คือ การสร้างความเป็นไทยที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม หลากหลายทางเชื้อชาติ หลากหลายประเพณี เพื่อที่เราจะได้เรียนรู้และอยู่ได้กันอย่างสันติ อย่างสงบ ไม่มีความดูถูกเหยียดหยามคนไทยด้วยกันเอง

     ทีมงานปลาร้านอกไห ขอขอบคุณทุกเสียงทุกแรงใจที่มอบให้เรา เราสัญญาว่า เราจะเป็นส่วนหนึ่งที่จะสร้างสรรค์สังคมให้จรรโลงใจ
พร้อมเสมอ
ทีมงานปลาร้านอกไห

กระทู้ธรรมดา... มีข้อความโพสต์ใหม่

  หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ตอบกระทู้  
  โพสต์โดย  
สารานุกรม แมงไม้ ใน อีสาน (คลิกอ่านบทความต่อเนื่อง)
 
  อีเกียแดง {แห่งรัตติกาล}    คห.ที่265)  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : บุรีรัมย์ @ขอนแก่น
สมาชิกภาพ : สมาชิกทั่วไป
เข้าร่วม : 07 เม.ย. 2552
รวมโพสต์ : 5,431
ให้สาธุการ : 4,145
รับสาธุการ : 12,652,790
รวม: 12,656,935 สาธุการ

 
คุณมังกรเดียวดาย:
สำหรับผมหรือแถวบ้านผมนะครับ
บีแมงภู กะคือ ดีแมลงภู่ ครับ
ก่อนกิน ต้องจับแมงภู่ให้ได้ก่อน (ใช้ไม้ตีด้วยความแม่นยำขณะแมงภู่บินกลางอากาศ จนแมงภู่เญาหรือตาย)
บาดนี้กะดึงหัวออกจากคอ ค้นหาบี... พ้อแล้วกะดึงออกมาโมม แล้วกะใช้ลิ้นลิเลียเพื่อละเลียดความหวานอันละเมียดละไม... (จับกินบีขนาดแท้ 555)    


กินแต่ตอนเป็นเด็กน้อยดอกหวา.. ใหญ่ขึ้นมาแล้ว บ่กล้ากิน ย้านบาป



นักกินบีของแท้ตั๊วหนิ..

สาวส่ำเล็กส่ำน้อยกรุณาระวังโต อย่าอยู่ใกล้เป็นอันขาด สิถืกค้อนฟาดจนเยา เลาสิจกกินบี..เจ้าเด้หล่า..หยับมาหาอีเกียพี้..สิพาหนีไปซ้นฮ่ม กินขนมให้อุ่นท้องนอนเหล่น..เฮียนน้อยนำ..กันเนาะ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 712 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  08 ก.พ. 2556 เวลา 11:03:37  
    MySite  offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  ปิ่นลม    คห.ที่266)  
  เซียน

ภูมิลำเนา : สกลนคร
สมาชิกภาพ : สมาชิกชมรมฯ
เข้าร่วม : 16 มี.ค. 2553
รวมโพสต์ : 2,213
ให้สาธุการ : 180
รับสาธุการ : 5,444,640
รวม: 5,444,820 สาธุการ

 

บ่ไปนำดอก ย้านผีก่องก๋อย  

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  09 ก.พ. 2556 เวลา 20:06:53  
      offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  บ่าวหน่อ    คห.ที่267)  
  อภิมหาเซียน

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
สมาชิกภาพ : สมาชิกชมรมฯ
เข้าร่วม : 03 มี.ค. 2550
รวมโพสต์ : 4,207
ให้สาธุการ : 185
รับสาธุการ : 7,268,330
รวม: 7,268,515 สาธุการ

 
กินตะบีซั่นบ้อ
บ่กินขี้นำบ๊อ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  11 ก.พ. 2556 เวลา 09:29:06  
  www    offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  อีเกียแดง {แห่งรัตติกาล}    คห.ที่268)  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : บุรีรัมย์ @ขอนแก่น
สมาชิกภาพ : สมาชิกทั่วไป
เข้าร่วม : 07 เม.ย. 2552
รวมโพสต์ : 5,431
ให้สาธุการ : 4,145
รับสาธุการ : 12,652,790
รวม: 12,656,935 สาธุการ

 
คุณบ่าวหน่อ:
กินตะบีซั่นบ้อ
บ่กินขี้นำบ๊อ



กินขี้กะสิกินอยู่ แต่เป็นขี้เพี้ยขมๆนำงัวสั่นแหล่ว เพี้ยพุ๊สาวคือสิบ่ไหว บีกับตับไคแน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 432 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  15 ก.พ. 2556 เวลา 07:57:30  
    MySite  offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  บ่าวหน่อ    คห.ที่269)  
  อภิมหาเซียน

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
สมาชิกภาพ : สมาชิกชมรมฯ
เข้าร่วม : 03 มี.ค. 2550
รวมโพสต์ : 4,207
ให้สาธุการ : 185
รับสาธุการ : 7,268,330
รวม: 7,268,515 สาธุการ

 
ปะทิด ไปกินตับกัน

ตับๆๆๆ
ตับๆๆๆ    






ย้านบ่บาดทีนี้


 
 
สาธุการบทความนี้ : 526 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  15 ก.พ. 2556 เวลา 15:32:36  
  www    offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  อีเกียแดง {แห่งรัตติกาล}    คห.ที่270)  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : บุรีรัมย์ @ขอนแก่น
สมาชิกภาพ : สมาชิกทั่วไป
เข้าร่วม : 07 เม.ย. 2552
รวมโพสต์ : 5,431
ให้สาธุการ : 4,145
รับสาธุการ : 12,652,790
รวม: 12,656,935 สาธุการ

 
คุณบ่าวหน่อ:
ปะทิด ไปกินตับกัน

ตับๆๆๆ
ตับๆๆๆ    






ย้านบ่บาดทีนี้




ไปทางร้อยเอ็ดติ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 452 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  15 ก.พ. 2556 เวลา 20:02:58  
    MySite  offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  บ่าวหน่อ    คห.ที่271)  
  อภิมหาเซียน

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
สมาชิกภาพ : สมาชิกชมรมฯ
เข้าร่วม : 03 มี.ค. 2550
รวมโพสต์ : 4,207
ให้สาธุการ : 185
รับสาธุการ : 7,268,330
รวม: 7,268,515 สาธุการ

 
คุณอีเกียแดง {แห่งรัตติกาล}:
คุณบ่าวหน่อ:
ปะทิด ไปกินตับกัน

ตับๆๆๆ
ตับๆๆๆ    






ย้านบ่บาดทีนี้




ไปทางร้อยเอ็ดติ


ไปให้เขากินตับจะของติ๊ทิด




อือฮึ       จื่อบ่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 310 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  16 ก.พ. 2556 เวลา 13:45:03  
  www    offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  ปิ่นลม    คห.ที่272)  
  เซียน

ภูมิลำเนา : สกลนคร
สมาชิกภาพ : สมาชิกชมรมฯ
เข้าร่วม : 16 มี.ค. 2553
รวมโพสต์ : 2,213
ให้สาธุการ : 180
รับสาธุการ : 5,444,640
รวม: 5,444,820 สาธุการ

 

บอกแล้ว อย่าไปทาง 101  งูเขียวหลาย กะยังว่า
"บ่ย้านดอกอ้าย  ข่อยลายเต็มโต" เผิ่นว่า
เป็นได๋....ยังอยู่บ่ตับฮั่น อีพ่อ.....

 
 
สาธุการบทความนี้ : 414 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  16 ก.พ. 2556 เวลา 15:09:25  
      offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  อีเกียแดง {แห่งรัตติกาล}    คห.ที่273)  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : บุรีรัมย์ @ขอนแก่น
สมาชิกภาพ : สมาชิกทั่วไป
เข้าร่วม : 07 เม.ย. 2552
รวมโพสต์ : 5,431
ให้สาธุการ : 4,145
รับสาธุการ : 12,652,790
รวม: 12,656,935 สาธุการ

 
จั่งแม่นซ้ำเติมกันเนาะ..แทนที่สิไปเป็นหมู่ หึย..

  ตั๋วโล้ดดด..ถ้าเจ้าบ่ย้านบาป อ้ายบ่มีเครื่องมือตรวจจับ คือจั่งซิงห่างนกขุ่มดอกนางเอ๊ย..

 
 
สาธุการบทความนี้ : 762 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  16 ก.พ. 2556 เวลา 18:55:44  
    MySite  offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  ปิ่นลม    คห.ที่274) แมงซ้าง  
  เซียน

ภูมิลำเนา : สกลนคร
สมาชิกภาพ : สมาชิกชมรมฯ
เข้าร่วม : 16 มี.ค. 2553
รวมโพสต์ : 2,213
ให้สาธุการ : 180
รับสาธุการ : 5,444,640
รวม: 5,444,820 สาธุการ

 


ชื่อพื้นบ้าน แมงซ้าง  แมงค่อม
ชื่อภาษาไทย  แมลงค่อมทอง
ชื่อสามัญ  Green weevil
วิทยาศาสตร์ Hypomeces  squamosus  Fab

Class           Insecta
Inflaclass     Neoptera
Superorder   Endopterygota
Order          Coleoptera
Suborder     Polyphaga
Family        Curculionidae
Genus         Hypomeces



ลักษณะทางกายภาพ
เป็นด้วงงวงสีสวย และเป็นสีเหลือง ลักษณะเป็นฝุ่น ตามตัวมีสีต่าง ๆ เช่น น้ำตาลปนเขียว
เขียวปนสีทอง เขียวปนทองแดงและสีเทาดำ มีผู้พบว่าแมลงค่อมทองมีสีดำ
เนื่องจากสีชั้นนอกสุดเป็นสีเขียว สีเหลือง หลุดออกง่าย เป็นขุยปีกชั้นในสุดเป็นสีดำ
ส่วนหัวยื่นยาวออกไปเพียงเล็กน้อย ลำตัวยาว 1 2 ซม.

แมงซ้างเป็นด้วงชนิดขนาดกลาง  สามารถพบเห็นได้ทั่วทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จนถึงญี่ปุ่นและจีน    ปากมีลักษณะเป็นงวงยาวแบบ กัดกิน  
ส่วนหัวสั้นทู่ยื่นตรงไม่งุ้มเข้าใต้อก    มีหนวดแบบข้อศอก (geniculate)  
โดยปล้องปลายหนวดจะโป่งออก  ตั้งอยู่ที่กึ่งกลางของงวงปาก

ลำตัวมีหลายสีขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมเมื่อเป็นตัวเต็มวัย  
พบได้ตลอดทั้งปีและทุกภาคของประเทศไทย ช่วงที่พบเห็นได้มาก หากเป็นพื้นที่ภาคกลาง
ภาคเหนือคือช่วง กุมภาพันธ์ - มีนาคม ส่วนทางภาคอีสานจะเป็นช่วง มิถุนายน - สิงหาคม


การดำรงชีวิต
          ตัวหนอนของแมงซ้าง กัดกินรากของพืชหลายชนิดเป็นอาหาร  เช่น  ข้าว  ข้าวโพด  ยาสูบ  ฝ้าย
และพืชตระกูลส้ม  ตัวเต็มวัยกัดกินตั้งเเต่เนื้อเยื่อเจริญ  เช่น รากอ่อน  ตากิ่ง  ตาดอก เป็นต้น
ต้นอ่อน  ใบอ่อน จนถึงใบแก่ของต้นไม้   เช่น มะม่วง ลำไย เงาะ ส้มเขียวหวาน  ส้มโอ หม่อน สามสา ต้นคูน
สนประดิพัทธ์ ยูคาลิปตัส กะเลา ต้นสัก ต้นดูก ต้นก่อ มะค่าแต้ กะทกรก เหียง ต้นถ่อน กระถินณรงค์ ประดู่แดง ขี้เหล็ก
และพันธุ์ไม้ท้องถิ่นอื่น ๆ

ตัวเต็มวัยชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม  เป็นปุ้ม ชอบอาศัยอยู่ตามใต้ใบไม้บนต้นไม้ เคลื่อนที่ช้า  ไม่ว่องไว  
เมื่อถูกรบกวนจะทิ้งตัวลงพื้น   โดยดึงส่วนขาและหนวด เข้าห่อตัวและหยุดเคลื่อนไหว  
มักพบเป็นคู่ ๆ หรือรวมกลุ่มอยู่บนต้นไม้ใบไม้


วงจรชีวิตและสืบพันธุ์
ในเดือน ธันวาคม-มีนาคม   เป็นระยะที่แมลงผสมพันธุ์และวางไข่    วางไข่ในดิน
ตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 40 - 131 ฟอง โดยวางไข่ 5 - 10 ครั้ง
แต่ละครั้งห่างกัน 3 - 4 วัน จำนวนไข่ที่วางแต่ละครั้ง 3 - 27 ฟอง ระยะไข่ 7 - 8 วัน  
เมื่อไข่ฟักเป็นตัวหนอนจะกัดกินรากพืชในดิน  
หนอนมีการลอกคราบ 4 - 5 ครั้ง  
ระยะหนอน 22 - 23 วัน  จากนั้นจะเข้าดักแด้ในดิน ระยะดักแด้ 10 - 15 วัน
เพศผู้มีขนาดเล็กกว่าเพศเมีย อายุตัวเต็มวัย เพศผู้ 8 เดือน เพศเมีย 12 เดือน    
  

ประโยชน์และความสำพันธ์ในธรรมชาติ
แมงซ้าง สามารถปรับตัวได้ดี กินใบไม้ได้หลายชนิด  รักษาสมดุลไม่ให้พืชชนิดใดชนิดหนึ่ง
ได้เปรียบ ครอบครองเป็นพืชเดี่ยว มันเป็นอาหารของ นกหลากชนิด รวมทั้งสัตว์ปีกที่หากินตามพื้นดิน
เป็นอาหารของ กิ้งก่า จิ้งเหลน กบ ต่อ แตน รวมทั้งค้างคาวบางชนิดด้วย
เหนือสิ่งอื่นใด มันอุทิศตัวให้เป็นอาหารให้ มนุษย์ผู้สันโดษ

เมื่อเราค้นหาข้อมูลของ แมงซ้าง หรือ แมลงค่อมทอง จะเห็นว่า "มันน่ากลัว"
เพราะเห็นว่าเป็นศัตรูพืช  ทำลายล้างทำให้เสียหาย และจะเห็นสูตรสารเคมีต่างๆ
เพื่อใช้ฉีดพ่นกำจัด โฆษณาขาย เคมีบันเทิง ไปในตัว



มนุษย์นี่เองเป็นตัวการที่ทำให้มันเกิดการ แพร่ระบาด ทำลายนิเวศน์พืชท้องถิ่น
ปลูกพืชเชิงเดี่ยวโดยไม่นึกถึง สายใยธรรมชาติ  ในพื้นที่ ที่มีพืชท้องถิ่นอยู่หลากกลาย
จะไม่พบการระบาดของมันทำลายพืชใดเลย  

เมื่อมันไม่มีอันใดกิน  มันก็ต้องกินพืชสวน ลองปลูกพืชท้องถิ่นอย่างอื่น
เช่น ขี้เหล็ก มะตูม  มะขาม  หรืออะไรก็ได้ที่เป็นพืชตามท้องถิ่นตน เสริมเป็นแนว
แมลงชนิดนี้ก็จะไม่ระบาด ทำลายพืชสวนให้เสียหาย ไม่ต้องใช้เคมีให้เกิดพิษภัย


แมงซ้าง นำมาเป็นอาหารได้  ลองรับประทานดู  รับรองลืมฟิซซ่าไปเลย



ความเกี่ยวพันกับวิถีชีวิตชาวอีสาน

เดิมทีชาวอีสานเป็นคนละเมียดละไม มีองค์ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติมาก
ช่างสังเกตธรรมชาติ และเรียนรู้จากมัน นำมาใช้ประโยชน์ เช่นดูพฤติกรรมสัตว์
เพื่อทำนายฟ้าฝน ดูพืชติดดอกออกผล ก็คาดเดาสภาพอากาศได้ เพื่อจะวางแผนเพาะปลูก
ดูท้องฟ้า ดูก้อนเมฆ ดูแสงแรกอรุณ ดูแสงอัสดง ก็รู้สภาวะฟ้าฝน

คนอีสานโบราณมีความรู้เรื่อง สัตว์และพืชในท้องถิ่นตนมาก รู้จักใช้ประโยชน์
แม้แต่ "แมงซ้าง" ก็เอามันมาเป็นอาหารได้  หาเก็บเอาแมลงชนิดนี้มาคั่วกิน
เป็นอาหารเสริมตามฤดูกาล ไม่ต้องซื้อหาเสียเงินทอง

เวลาลัดเลาะเลี้ยงวัวควาย เด็กน้อยชาวอีสาน ชอบเลาะหา "แมงซ้าง" ที่กำลังหลบแดด
ใต้ใบไม้มากิน บางคนกินดิบเลย แค่เด็ดปีกออก "โม่ม" ใส่ปาก แซบเข้าท่า
ไม่แพ้ของขบเคี้ยวชนิดอื่น บางคนก็เก็บสะสมในถุง เพื่อเก็บเอาไปคั่วที่บ้านกินเป็นอาหาร


ขอบคุณ ศิลปินผู้แต้มฮูป   สุนัขในภาพ คือหมาบักแดงขะน้อยฮ้าย

ระหว่างที่เลาะหาแมงซ้าง พบมุมสงบใต้ต้นไม้เย็นๆ อาศัยงีบหลับสบายอารมณ์
ปีไหนที่พบแมงซ้างเยอะ ตามต้นขี้เหล็ก ต้นส้มเสี่ยว ต้นถ่อน ปีนั้น "ข้าวงัน" จะได้ผลดี
ฝนจะไม่ทิ้งช่วง  

ปีไหนพบเยอะตามต้นมะม่วง ต้นบักค้อ ต้นส้มมอ ปีนั้นน้ำจะมากหลากท่วม
ปีไหนพบตามไม้เถาเยอะ ๆ ปีนั้นจะแล้ง ข้าวกล้าไม่งาม
หากเราละเลย สายใยธรรมชาติ มีแต่จะทำให้เราไม่เหลือบแล "คุณค่าของกันและกัน"


-ขอบคุณ ข้อมูล และภาพบางส่วนจาก
http://www.biogang.net
http://www.malaeng.com/
http://www.photonovice.com/
http://www.oknation.net/
http://coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/HO416/html/pa0089.htm
http://noknoi.com/newboard.php?b=2964

 
 
สาธุการบทความนี้ : 593 ครั้ง
ให้สาธุการบทความนี้
 
 
  17 ก.พ. 2556 เวลา 12:29:21  
      offline ติดต่อหลังเวที ติดต่อโดยเมล์ ตอบอ้างอิง  
 
  ปราร้านอกไห   ตอบเต็มรูปแบบ || Quick Reply  
  หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

   

Creative Commons License
สารานุกรม แมงไม้ ใน อีสาน --- ปลาร้านอกไห (ปลาร้านอกไห --- อีสานจุฬาฯ)