ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 2 พฤษภาคม 2568:: อ่านผญา 
อย่าได้กดเขาย้องยอโตผิดฮีต อย่าได้หวีดหวีดเว้าประสงค์ขึ้นข่มเขา แปลว่า อย่าได้อวดอ้างตนว่าดี แต่กดข่มผู้อื่น อย่าได้พูดเอาแต่ดีเข้าตัว ชั่วให้ผู้อื่น หมายถึง ไม่ควรยกตนข่มผู้อื่น


  ค้นหาสาธุการ ปลาร้านอกไห  

หน้า: 1 2 3 4 5 6  
  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่12)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


มหาเจดีย์ชัยมงคล

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1194 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1194 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 09:56:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) อุบลราชธานี  
  สะเลเต    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 



ผ้ากาบบัว  อาจทอด้วยฝ้ายหรือไหม  ประกอบด้วยเส้นยืน  ย้อมสีอย่างน้อยสองสีเป็นริ้วตามลักษณะ “ซิ่นทิว” นอกจากนี้ยังทอพุ่งด้วยไหมสี  มับไม (ไหมปั่นเกลียงหากระรอก)  มัดหมี่และขิด
ผ้ากาบบัว (จก)  เป็นผ้าที่มีพัฒนาลวดลายมาจากผ้ากาบบัวพื้นฐานขึ้นมาสู่อีกระดับหนึ่ง  คือ เป็นผ้าทิวหรือผ้ากาบบัวเพิ่มจกเป็นลวดลายกระจุกดาว  (บางครั้งเรียกเกาะลายดาว)  อาจเป็นจกบางส่วนหรือกระจายทั่วผืนผ้าเพื่อสืบทอด “ลายจกดาว” อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะผ้าซิ่นเมืองอุบล  ผ้ากาบบัว (จก) เหมาะที่จะใช้ในงานพิธีหรือโอกาสสำคัญ  เมื่อปี พ.ศ. 2547  โดยดำริของนายจีรศักดิ์  เกษณียบุตร ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี  คนปัจจุบันได้มอบหมายให้โครงการส่งเสริมศิลปาชีพบ้านสมพรรัตน์ หมู่ที่ 11  ตำบลหนองสะโน  อำเภอบุณฑริก  จังหวัดอุบลราชธานี  คัดเลือกสมาชิกที่มีฝีมือประณีต  ทอผ้าถวายสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสทรงมีพระชนายุครบ 72 เพื่อเป็นผ้าฉลองพระองค์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1140 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 1139 ครั้ง
 
 
  16 ม.ค. 2552 เวลา 13:35:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   49) กุดนางใย เมืองมหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่0) กุดนางใย เมืองมหาสารคาม      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


กุดนางใย

........................กุดนางใย เป็นชื่อแหล่งน้ำที่สำคัญของเมืองมหาสารคาม มาตั้งแต่สมัยพระเจริญราชเดช (กวด) เจ้าเมืององค์แรก ซึ่งมาตั้งเมืองเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๘ ใช้เป็นแหล่งน้ำสำหรับอุปโภคและบริโภคควบคู่กับแหล่งน้ำ ในหนองท่ม (กระทุ่ม) ที่เรียกว่ากุดเพราะเป็นที่สิ้นสุดของสายน้ำ (กุด แปลว่าด้วนหรือสิ้นสุด) หรือเรียกว่าแม่น้ำด้วน ปัจจุบัน ตื้นเขินมากคงเหลือเนื้อที่ประมาณ ๒ ไร่ ใกล้กับกุดนางใยเป็นที่ตั้งของวิทยาลัยอาชีวศึกษา มหาสารคาม และริมกุดนางใย มีร่องรอยของวัตถุโบราณสันนิษฐานว่าพระเจริญราชเดชสร้างไว้เมื่อครั้งตั้งเมือง ได้แก่เสาหงส์ ซึ่งถือว่าเป็นผู้พิทักษ์เมือง


เนื้อเรื่อง
.........................จากนิทานพื้นบ้านกล่าวว่า ครั้งโบราณที่บริเวณแหล่งน้ำนี้มีครอบครัวหนึ่งตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่ มีแม่และลูกชาย ภายหลังได้ลูกสะใภ้มาอยู่ร่วมกัน มาวันหนึ่งลูกชายไปค้าขายทางไกล แม่และลูกสะใภ้อยู่ บ้านเพียง ๒ คน คืนหนึ่งแม่ผัวสังเกตเห็นว่าที่ห้องนอนของ ลูกสะใภ้จุดตะเกียงตลอดคืน ซึ่งเป็นการผิดธรรมเนียมโบราณ กล่าวคือเมื่อเข้านอนต้อง ดับตะเกียง คืนหนึ่งแม่ผัวสงสัยจึงไปแอบดูว่าลูกสะใภ้ทำอะไรอยู่ในห้อง และเห็นว่า ลูกสะใภ้กำลังสาวใยไหม ออกจากปากตัวเองมาม้วนเข้าฝัก จึงเกิดความหวาดกลัวนึกว่า สะใภ้เป็นภูตผีปีศาจ จึงนำความไปเล่าให้เพื่อนบ้านฟัง คืนต่อมาแม่ผัวและเพื่อนบ้านจึงมาแอบด ูเพื่อจับผิดลูกสะใภ้ ในที่สุดได้จู่โจมเข้าไปในห้องขณะที่ลูกสะใภ้กำลังสาวไหมออกจากปาก จึงซักถามว่าเป็นใครมา จากไหน เป็นภูติผีปีศาจหรือเปล่า ทำให้ลูกสะใภ้อับอาย จึงหนีออกจากบ้านและโดดลงในลำน้ำนั้นหายไป เมื่อลูกชายกลับมาและรู้ความจริงว่าภรรยาโดดน้ำตาย ณ ที่แห่งนั้นจึงได้แต่ เศร้าโศกเสียใจ เมื่อถึงคืน เดือนหงายจะไปนั่งริมลำน้ำแห่งนี้ และจ้องมองลงไปในสายน้ำ นาน ๆ เข้าก็มองเห็นภรรยาในสายน้ำนั้น และสาวใยไหมออกจากปาก ต่อมาที่แห่งนี้จึงได้ชื่อว่ากุดนางใย (ใยหมายถึงใยไหม)

คติ/แนวคิด
๑. เป็นอุทาหรณ์สอนใจว่า การจะลงโทษใครอย่าผลีผลาม ควรถามสาเหตุและเหตุผลข้อเท็จจริงก่อน
๒. นามของสถานที่ส่วนใหญ่จะมีนิทาน ตำนานประกอบและเป็นที่มาของชื่อสถานที่นั้น ๆ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1066 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 1063 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 11:30:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ร้อยเอ็ด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1060 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1060 ครั้ง
 
 
  05 ต.ค. 2551 เวลา 13:20:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   7) มหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่14)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 
คุณกะซางครับ  ก็ลองดูตามเวปนี้นะครับ  แต่ถ้าจะเอารูปเพิ่มเติมช่วงนี้ผมไม่ได้ลงพื้นที่เลยนะครับ  http://www.isan.clubs.chula.ac.th/para_norkhai/?transaction=post_view.php&cat_main=2&id_main=145&star=0#top

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1047 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1047 ครั้ง
 
 
  22 ม.ค. 2552 เวลา 14:13:35  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   7) มหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่18)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 
ครับประมาณปี 2540-2542   ผ้าไหมสร้อยดอกหมาก นะครับ  เป็นลายประดิษฐ์ขึ้นโดยดำริห์ ของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม หญิงคนแรก  (ท่านสิริเลิศ  เมฆไพบูลย์)  ได้ต้องการให้จังหวัดมหาสารคามมีผ้าไหมลายประจำจังหวัด  จึงได้ให้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดมหาสารคาม  จัดการประกวดผ้าไหมลายประจำจังหวัดมหาสารคาม  และกลุ่มแม่บ้านชาวอำเภอกุดรัง  จึงได้ประดิษฐ์ลายผ้าไหมดังกล่าว  และนำเข้าประกวดในงานประเพณีบุญเบิกฟ้า  ประจำปี 2542  และได้รับรางวัลชนะเลิศ   ต่อมาจังหวัดมหาสารคาม  จึงได้ประกาศให้ผ้าไหมลายสร้อยดอกหมากเป็นลายผ้าไหมประจำจังหวัดมหาสารคาม  นับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1026 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1026 ครั้ง
 
 
  15 เม.ย. 2552 เวลา 15:04:16  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  สะเลเต    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


พระธาตุยาคู  เมืองฟ้าแดดสูงยาง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1008 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1008 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 10:07:52  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   36) ตำนานผาแดงนางไอ่ (เวอร์ชั่นละเอียด)  
  สะเลเต    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ผาแดง  นาไอ่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 960 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 959 ครั้ง
 
 
  04 ก.ย. 2551 เวลา 09:51:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) อุบลราชธานี  
  สะเลเต    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ผ้าลายกาบบัว
เอกลักษณ์ของผ้าลายพื้นเมืองที่ได้รับการกล่าวขานถึงจากครั้งอดีตจนถึงปัจจุบันของชาวอุบลราชธานีคือ ผ้ากาบบัว ชื่อนี้เป็นที่ถกเถียงและสงสัยกันมากถึงที่มาที่ไป ทำไมจึงเป็น กาบบัว ไม่ใช่ กลีบบัว และลายที่แตกต่างนั้นดูตรงส่วนใด? คำถามเหล่านี้ได้รับการสอบถามอยู่เสมอ
ผ้ากาบบัว เป็นชื่อผ้าที่ถูกกล่าวถึงในวรรณกรรมโบราณอีสานหลายเรื่อง คำว่า "กาบ" ในภาษาอีสานมีความหมายถึง เปลือกหุ้มชั้นนอกของต้นไม้บางชนิด เช่น เปลือกหุ้มต้นกล้วย เรียก กาบกล้วย หุ้มไม้ไผ่ เรียก กาบลาง กลีบหุ้มดอกบัว เรียก กาบบัว (สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ : ปรีชา พิณทอง) ผ้ากาบบัวอาจจะทอด้วยไหมหรือฝ้าย โดยมีเส้นยืน (Warh) ย้อมอย่างน้อยสองสีเป็นริ้ว ตามลักษณะ "ซิ่นทิว" ซึ่งมีความนิยมแพร่หลายแถบอุบลฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เส้นพุ่ง (Weft) จะเป็นไหมสีมับไม (ไหมปั่นเกลียวหางกระรอก) มัดหมี่และขิด
          จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเสียงในด้านการทอผ้าพื้นเมืองมาช้านาน เห็นได้จากวรรณกรรมโบราณอีสานและประวัติศาสตร์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดอุบลราชธานี ได้ปรากฏให้เห็นเด่นชัดถึงความประณีตสวยงาม แสดงออกถึงภูมิปัญญาของผู้ทอผ้าที่ได้รังสรรค์บรรจงด้วยจิตวิญญาณ ออกมาเป็นลวดลายอันวิจิตร สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
          ปัจจุบัน ผ้ากาบบัว ได้รับการสืบสานให้เป็นผ้าเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัดอุบลราชธานี เป็นที่นิยม     ในวงการแฟชั่นผ้าไทย มีการสวมใส่เสื้อผ้าอาภรณ์ลายกาบบัวตั้งแต่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ไปจนถึงวัยรุ่นด้วยรูปแบบที่หลากหลาย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 881 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 880 ครั้ง
 
 
  16 ม.ค. 2552 เวลา 13:37:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  สะเลเต    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


วัฒนธรรมภูไท

 
 
สาธุการบทความนี้ : 867 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 866 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 10:00:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) อุบลราชธานี  
  สะเลเต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


พลเอกเปรม  ติณสูลานนท์   องคมนตรี ในชุดไทยนิยม เสื้อผ้ากาบบัวสีชมพู

 
 
สาธุการบทความนี้ : 831 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 830 ครั้ง
 
 
  16 ม.ค. 2552 เวลา 13:26:36  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) อุบลราชธานี  
  สะเลเต    คห.ที่4) ประวัติผ้ากาบบัว (จก) เพื่อทูลเกล้าฯ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ผ้ากาบบัวที่นำทูนเกล้า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 798 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 798 ครั้ง
 
 
  16 ม.ค. 2552 เวลา 13:30:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


บึงพลาญชัย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 791 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 791 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 09:28:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


งามน่ายลบึงพญาชัย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 773 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 773 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 09:54:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ประตูสาเกตุนคร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 771 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 771 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 09:35:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) อุบลราชธานี  
  สะเลเต    คห.ที่3) ประวัติผ้ากาบบัว (จก) เพื่อทูลเกล้าฯ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ประวัติผ้ากาบบัว (จก) เพื่อทูลเกล้าฯ
ผ้าไทยเป็นมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น  บรรพบุรุษสร้างสรรค์เป็นลายเส้น  ถักทอ  ถ่ายทอดแสดงเอกลักษณ์  ความดีงาม  มีคุณค่า  และด้วยสายพระเนตรอันยาวไกลของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ  ผ้าไทยจึงได้รับการยอมรับ  ยกย่อง  สู่สายตาสังคมโลกอย่างน่าภาคภูมิใจ  สมควรอย่างยิ่งที่คนไทยต้องอนุรักษ์พัฒนาผ้าไทยให้คงอยู่กับคนไทยตลอดไป
“ผ้ากาบบัว” เป็นชื่อในวรรณกรรมโบราณอีสานซึ่งไม่อาจทราบหรือพบในปัจจุบันแล้ว  สีของกาบบัวหรือกลีบบัว  ซึ่งไล่จากสีอ่อนแก่จากขาว  ชมพู  เทา  เขียว น้ำตาล  ชื่อผ้ากาบบัวมีความหมายและเหมาะสมสอดคล้องกับชื่อของจังหวัดอุบลราชธานี  และประกาศให้ผ้ากาบบัวเป็นผ้าเอกลักษณ์ประจำจังหวัดอุบลราชธานี  เมื่อวันที่ 25 เมษา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 752 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 751 ครั้ง
 
 
  16 ม.ค. 2552 เวลา 13:29:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   49) กุดนางใย เมืองมหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 
ครับ คุณว่าที่ครูภาษาไทย  ครับ   ผมเห็นด้วยอย่างยิ่งครับที่คุณจะเอานิทานพื้นบ้านมาทำเป็นหลักสูตรการเรียนการสอน เพราะว่าเดี๋ยวนี้เด็ก ๆ   จังหวัดมหาสารคาม ของเรายังไม่ทราบด้วยซ้ำว่ากุดนางใยที่เค้าเรียกกันนั้น  มีประวัติความเป็นมาที่สอดคล้องกับการก่อตั้งเมืองมหาสารคามของเรา  เลยที่เดียว  ถ้าคุณไปค้นประวัติมีที่ค้น  ถ้าอยู้มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม  ก็ที่ศูนยศิลปะวัฒนธรรมอีสาน  ถ้าที่ ม.มหาสารคาม  ลองไปสืบค้นที่ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานดู  หรือไม่ก็ที่ศูนย์สิริธร ชั้น 1  ตึกคณะวิทยาการสารสนเทศ (อาคารวิทยบริการ)  นะครับ  ส่วนทำนองเพลง ถ้ารู้จักอาจารย์สอนสังคมที่โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย  เช่น อาจารย์ชุตินันท์  ฯ  หรือไม่ก็อาจารย์ สุปราณี  ฯ ท่านก็พอรู้จักทำนองเพลงครับ  เป็นเพลงที่เค้าร้องต่อ  ๆ   กันมาครับ   ผมยินดีมากเลยครับที่มีคนแบบคุณอยู่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 710 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 709 ครั้ง
 
 
  24 พ.ย. 2551 เวลา 08:44:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


หลวงปูหิน  อำเภอชื่นชม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 682 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 682 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 14:25:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   5) นครราชสีมา  
  สะเลเต    คห.ที่12)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 
ครับบ้านเกิดผู้ข้า  ครับผม  คนโคราชบ้านเอง  ฉันไม่ได้เกรงใจใคร  
เมืองหญิงกล้า
ผ้าไหมดี
หมี่โคราช
ประสาทหิน
ดินด่านเกวียน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 676 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 676 ครั้ง
 
 
  19 พ.ค. 2552 เวลา 11:53:07  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   23) โกสุมพิสัย : ดินแดนแห่งดอกมะคำป่า  
  สะเลเต    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


แผนที่อำเภอโกสุมพิสัย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 674 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 674 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 12:13:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   26) ปูแป้ง : ปูทูลกระหม่อม : ปูหนึ่งเดียวในโลก  
  สะเลเต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ที่มาของปูทูลกระหม่อม

            สืบเนื่องมาจากปี พ.ศ. 2536 เป็นปีที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์อัครราชกุมารีจะทรงเจริญพระชนมายุครบ 36 พรรษา ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นผู้นำและมีพระปรีชาสามารถในงานด้านวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงได้กราบทูล ขอพระราชทานพระอนุญาต อัญเชิญพระนามของพระองค์มาเป็นนามของปูน้ำจืดชนิดนี้และได้รับพระราชทานอนุญาตให้เรียกชื่อปู ชนิดนี้ว่า "ปูทูลกระหม่อม" ซึ่งพบเพียงแห่งเดียวที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าดูนลำพัน และได้กำหนดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ลำดับที่ 14    ของสัตว์ป่าจำพวกไม่มีกระดูกสันหลังในกฎกระทรวง ฉบับที่ 11(พ.ศ.2543) เพิ่มเติมจากบัญชีสัตว์ป่าคุ้มครองท้ายกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2537) เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2543 ในประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่  117 ตอนที่ 3 วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2543
            จากการสำรวจนับจำนวนปูทูลกระหม่อมระหว่างวันที่ 15-21 พฤษภาคม พ.ศ.2546 เจ้าหน้าที่สำรวจสามารถเข้าถึงพื้นที่และตรวจ นับจำนวนรูปูทูลกระหม่อมได้  23,488 รู ในพื้นที่ 120 ไร่ ซึ่งรวมกับบริเวณที่เป็นป่าหญ้ารกทึกซึ่งผู้สำรวจไม่สามารถเข้าถึงในพื้นที่อีก 42 ไร่ ซึ่งมีจำนวนปูอาศัยอยู่น้อย จึงใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างพื้นที่ 1 ไร่ต่อจำนวนปู 10 ตัว สรุปว่าจำนวนปูทูลกระหม่อมที่สำรวจในปี พ.ศ.2546 ในพื้นที่รวมทั้งหมด  162 ไร่ คือ 23,908

 
 
สาธุการบทความนี้ : 671 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 671 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 13:46:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่13)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


กู่กาสิงห์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 653 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 653 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 09:56:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   25) พระกันทรวิชัย : พระประจำจังหวัดมหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


พระพิมพ์กันทรวิชัย  ขุดพบที่อำเภอโคกพระ  ตำบลโคกพระ  อำเภอกันทรวิชัย  จังหวัดมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 647 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 647 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 13:10:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   22) นครจัมปาศรี : พุทธมลฑลอีสาน : พระบรมธาตุนาดูน  
  สะเลเต    คห.ที่10) 7. ในหนังสืออุรังคธาตุได้กล่าวถึงแคว้นสำคัญไว้ 7 แคว้น      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


1. แคว้นศรีโคตรบูล เดิมอยู่ใต้ปากเซบั้งไฟ มีพระยาศาสีโคตรบองเป็นผู้ครอง ต่อมาได้ย้ายมาฝั่งธาตุพระพนม ณ ดง ไม้ลวกได้ให้ขื่อเมืองใหม่ว่า " มรุกขนคร " มีพระยานันทเสนเป็นผู้ครอง
2. แคว้นจุลมณี คือดินแดนแคว้นตังเกี๋ย มีพระยาจุลมณีพรหมทัตเป็นผู้ครอง

3. แคว้นหนองหานหลวง คือบริเวณที่จังหวัดสกนครมีพระยาสุรรณภิงคารเป็นผู้ครอง

4. แคว้นอินทปัฐ คือดินแดนเขมรโบราณ มีพระยาอินทปัฐเป็นผุ้ครอง

5. แคว้นหนองหานน้อย คือบริเวณอำเภอหนองหาน อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี มีพระยาคำแดงเป็นผู้ครอง

6. แคว้นสาเกต หรือเมืองร้อยเอ็ดประตูมีพระยาสาเกตเป้นผู้ครอง(เดิมอยู่ที่อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 645 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 645 ครั้ง
 
 
  04 ก.ย. 2551 เวลา 11:56:49  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   26) ปูแป้ง : ปูทูลกระหม่อม : ปูหนึ่งเดียวในโลก  
  สะเลเต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


เส้นทางสำรวจศึกษาธรรมชาติ  ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดูนลำพัน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 641 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 641 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 14:05:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   26) ปูแป้ง : ปูทูลกระหม่อม : ปูหนึ่งเดียวในโลก  
  สะเลเต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


สถานที่ตั้งและอาณาเขต

            ตั้งอยู่ที่ ถนนอำเภอนาเชือก - พยัคฆภูมิพิสัย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 219 ตำบลนาเชือก อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ระหว่างเส้นละติจูดที่ 103 ํ  01'  30"  เส้นลองติจูดที่ 15 ํ 45' 57" ระวางแผนที่  5640 IV  พิกัด 48QUC 891442  พิกัด  889445 อยู่ห่างจากสถานีตำรวจภูธรอำเภอนาเชือกประมาณ 3 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด  343 ไร่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 635 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 635 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 13:47:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่14)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ปรางค์กู่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 623 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 623 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 09:56:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  สะเลเต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 
สิบเอ็ดประตูเมืองงาม
เรืองนามพระสูงใหญ่
ผ้าไหมสาเกตุ
บุญผเหวดประเพณี
มหาเจดีย์ชัยมงคล
งามน่ายลบึงพลาญชัย
เขตกว้างไกลทุ่งกุลา
โลกลือชาข้าวหอมมะลิ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 621 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 621 ครั้ง
 
 
  21 ส.ค. 2551 เวลา 20:17:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  สะเลเต    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ตราประจำจังหวัดกาฬสินธุ์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 615 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 615 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 10:01:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  สะเลเต    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ไดโนเสาร์สัตว์โลกล้านปี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 608 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 608 ครั้ง
 
 
  11 พ.ย. 2551 เวลา 10:00:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่106)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ความทันสมัย(มั้ง)ที่มหาสารคาม  ซึ่งหาได้ยากมากครับ อิอิ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 607 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 607 ครั้ง
 
 
  04 ก.พ. 2552 เวลา 11:29:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   6) บุรีรัมย์  
  สะเลเต    คห.ที่201)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


กู่สวนแตง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 597 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 597 ครั้ง
 
 
  03 มิ.ย. 2553 เวลา 15:28:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   23) โกสุมพิสัย : ดินแดนแห่งดอกมะคำป่า  
  สะเลเต    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


บึงกุย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 592 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 592 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 12:24:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่86)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ลำน้ำชี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 583 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 583 ครั้ง
 
 
  04 ก.พ. 2552 เวลา 11:18:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่20) อำเภอกันทรวิชัย      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


พระยืน  อายุ ราว 1500 ปี -1700 ปี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 580 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 580 ครั้ง
 
 
  13 ก.ย. 2551 เวลา 15:14:26  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   49) กุดนางใย เมืองมหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 
มีเพลงอันหนึ่งมักฮ้องว่า
"  เรื่องนี้เรื่องเก่า  เอามาเล่าใหม่  มีชายคนหนึ่งกระโดดน้ำตาย  ที่กุดนางใย       เมืองสารคาม  เมืองสารคาม   รักหญิงจริง  ๆ  หญิงมาทอดทิ้งหนีไป  สุดแสนอาลัย  โดดลงละไปตายกับหม่อง  เราเกิดเป็นชาย   เป็นชายชาติชาตรี   ตายเพราะน้ำมือแม่นารี  นารีผู้แก้มแดง  จายวาย  นารีผู้ ด..ก   โกน  ซือวือ"  อันนี้เพลงขำ  ๆ  นะครับ ไม่รู้ว่าคนต่างพื้นที่จะเคยได้ยินหรือป่าวนะ อิอิอิอ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 580 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 580 ครั้ง
 
 
  30 ก.ย. 2551 เวลา 20:21:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   26) ปูแป้ง : ปูทูลกระหม่อม : ปูหนึ่งเดียวในโลก  
  สะเลเต    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


และปูแป้งมักจะกลายเป็น  สัญลักษณ์ประจำจังหวัดมหาสารคาม  เช่นการแข่งขันกีฬานักเรียน  นักศึกษา  แห่งประเทศไทย ครั้งที่  28   "ตักสิลาเกมส์"  ด้วยครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 579 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 579 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 14:13:44  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) ขูลูนางอั้ว  
  สะเลเต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


อีกตำนานหนึ่งที่ผมได้ยินมานะครับ  เรื่องมีว่า

        ท้าวพรมสีเป็นกษัตริย์ครองนครกาสี มีมเหสีชื่อนางพิมพากาสี มีโอรสชื่อท้าวขูลู ส่วนท้าวปุตตาลาดเป็นกษัตริย์ครองนครกายมีมเหสีชื่อนางจันทา มีธิดาชื่อนางอั้ว กษัตริย์ทั้งสองเป็นเพื่อนร่วมน้ำสาบานกันต่างให้สัญญากันว่าจะให้โอรสและธิดาแต่งงานเป็นทองแผ่นเดียวกัน
        แต่เมื่อครั้นทั้งสองเมือง  คือเมืองกาสี  และเมืองกาย  พระมหเสีทั้งสองเมืองได้ตั้งครรภ์   ในขณะที่นางจันทา  ได้มาเยือนพระสหาย  และได้ขอส้มเกลี้ยง  ของนางพิมพากาสี  รับประทาน แต่นางพิมพากาสี ไม่ยอมให้  นางจึงผูกใจเจ็บตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา  จึงนับเป็นการจุดชนวนความบาดหมางระหว่างสองเมือง    
      เมื่อท้าวขูลูเป็นหนุ่มแล้วมารดา  จึงแต่งเครื่องบรรณาการให้เพื่อนำไปสมมา  แด่พระนางจันทา  ที่เมืองกายนคร  และพระนางจันทาก็ทรงให้การต้อนรับเป็นอย่างดี  แล้วนางก็คิดอุบายที่จะทำให้ขูลูหลงรักนางอั้ว  แล้วพระนางก็จะตัดสัมพันธ์กับขูลู  เนื่องจากผูกใจเจ็บเมื่อครั้งที่ตนไม่ได้รับประทานส้มเกลี้ยง    
     ขูลู  และนางอั้ว  ได้พบกัน  ในขณะกำลังลงข่วง  เข็ญฝ้าย  ที่เมืองกายนคร  และทั้งสองได้เสียกัน  และรักกันมาก ท้าวขูลู จึงลากลับเพื่อเตรียมการแต่งงาน      ในช่วงนี้เองขุนลางกษัตริย์ผู้ครองเมืองขอมได้มาหลงรักนางอั้วทั้งๆ ที่ตนเป็นคนแก่แล้ว และหน้าตาหน้าเกลียด  แต่มีทรัพย์สมบัติเป็นจำนวนมาก   ได้ส่งของกำนัลมาให้มารดาของนางอั้วบ่อยๆ จนกระทั่งนางพอใจออกปากยกลูกสาวคือนางอั้วให้ นางอั้วไม่ยอมจึงถูกมารดาดุด่าทุบตี ท้าวขูลูได้ทราบข่าวจึงมาทวงสัญญา มารดาของนางอั้วบ่ายเบี่ยงไม่ยอมยกให้แต่งงานกับท้าวขูลู แต่เพื่อไม่ให้เสียสัญญาและเกิดศึกสงคราม นางจึงให้ทำพิธีเสี่ยงทายสายแนน  ทำให้ ขุนลางเป็นผู้ชนะ ท้าวขูแพ้พ่ายกลับไปด้วยความเสียใจปานจะสิ้นชีวิต แต่ก็พยายามมาหานางอั้วบ่อยๆ
       ส่วนมารดานางอั้วนั้นได้รวบรัดจะให้นางอั้วแต่งงานกับขุนลางโดยเร็ว นางอั้วหาทางแก้ปัญหาชีวิตไม่ได้จึงผูกคอตาย ใต้ต้นไม้ก่อนตายได้อธิษฐานขอให้ได้ครองรักกับท้ายขูลูบนสวรรค์ ท้าวขูลูทราบข่าวการตายของนาง จึงฆ่าตัวตายตาม
ไปอีกคน
        เมื่อทั้งสองตายไป  จึงไปเกิดเป็นรุ้งกินน้ำบนสวรรค์   ทำให้ทั้งสองครองรักกันนิรันดร  และส่งผลให้ทั้งสองเมือง  คือเมืองกาสี  และเมืองกายนคร  สิ้งสุดสงครามกันนับตั้งแต่บัดนั้เป็นต้นมา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 573 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 573 ครั้ง
 
 
  31 ก.ค. 2551 เวลา 12:10:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ตราประจำจังหวัดมหาสารคาม
รูปต้นไม้   คือต้นยางใหญ่  แสดงถึงต้นที่เป็นถิ่นฐานและเป็นชื่อของจังหวัดมหาสารคามของจังหวัดมหาสารคาม  คือต้นสาละ  
รูปท้องนา  คือ  ความอุดมสมบูรณ์  และประชาชนส่วนใหญ่ของจังหวัดมหาสารคามจะมีอาชีพทำนา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 570 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 570 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 14:30:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่7) 7. การจัดแบ่งเขตปกครอง      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


        พ.ศ. ๒๔๓๓ โปรดเกล้าฯ แบ่งเขตปกครองหัวเมืองตะวันออกเป็น ๔ ส่วน หรือ
สี่กอง กองหนึ่งๆ มีข้าหลวงใหญ่เป็นผู้กำกับราชการ
         ๑. หัวเมืองลาวฝ่ายเหนือมีเมืองใหญ่ ๑๖ เมือง เมืองเล็กขึ้น ๓๖ เมือง อยู่ในความปกครองของข้าหลวงเมืองหนองคาย
         ๒. หัวเมืองลาวฝ่ายตะวันออก มีเมืองใหญ่ ๑๑ เมือง เมืองขึ้น ๒๖ เมือง อยู่ในความปกครองของข้าหลวงเมืองนครจำปาศักดิ์
         ๓. หัวเมืองลาวฝ่ายกลางมีเมืองใหญ่ ๓ เมือง เมืองขึ้น ๑๖ เมือง อยู่ในความ
ปกครองของข้าหลวงเมืองนครราชสีมา
         ๔. หัวเมืองลาวฝ่ายตะวันออกเฉียงเหนือ มีเมืองใหญ่ ๑๒ เมือง เมืองขึ้น ๒๙ เมือง ขึ้นอยู่ในความปกครองของข้าหลวงเมืองอุบลราชธานี (ภายหลังเรียกมณฑลอีสาน) เมืองมหาสารคาม ร้อยเอ็ด และเมืองกาฬสินธุ์ ขึ้นอยู่ในความปกครองของข้าหลวงเมืองอุบลฯ
         พ.ศ. ๒๔๓๕ โปรดเกล้าฯ ให้นายรองชิต (เลื่อง ณ นคร ) จมื่นศรีบริรักษ์ มาเป็นข้าหลวงกำกับราชการเมืองมหาสารคาม และเมืองร้อยเอ็ดเป็นครั้งแรก ตั้งอยู่ที่เมืองมหาสารคาม
         พ.ศ. ๒๔๓๗ ทางการได้โอนเมืองชุมพลบุรีจากเมืองสุรินทร์มาขึ้นเมืองมหาสาร-
คาม (พ.ศ. ๒๔๔๓ ยุบเป็นอำเภอแล้วโอนกลับไปขึ้นเมืองสุรินทร์)
         พ.ศ. ๒๔๔๐ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ขึ้นเพื่อวางระเบียบแบบแผนการปกครองท้องที่ให้เรียบร้อยดียิ่งขึ้น แต่เวลานั้นมณฑลอีสานยังมิได้จัดการปกครองให้เป็นไปอย่างมณฑลอื่น
         พ.ศ. ๒๔๔๓ โปรดเกล้าฯ ให้แบ่งหัวเมืองมณฑลอีสานออกเป็นบริเวณ ๕ บริเวณ คือ
         ๑) บริเวณอุบล
         ๒) บริเวณจำปาศักดิ์
         ๓) บริเวณขุขันธ์
         ๔) บริเวณสุรินทร์
         ๕) บริเวณร้อยเอ็ด
         บริเวณร้อยเอ็ดแบ่งเป็น ๕ หัวเมือง คือ
         ๑) เมืองร้อยเอ็ด
         ๒) เมืองมหาสารคาม
         ๓) เมืองกาฬสินธุ์ (ยุบลงเป็นอำเภอขึ้นจังหวัดมหาสารคาม ปี ๒๔๗๔ แล้ว กลับตั้งเป็นจังหวัดกาฬสินธุ์อีก เมื่อปี ๒๔๙๐)
         ๔) เมืองกมลาไสย (ยุบลงเป็นอำเภอจนทุกวันนี้)
         ๕) เมืองสุวรรณภูมิ (ยุบลงเป็นอำเภอจนทุกวันนี้)
         ในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนคำว่า “เจ้าเมือง” เป็น “ผู้ว่าราชการเมือง” อุปฮาช เป็น ปลัดเมือง ราชวงศ์ เป็น ยกกระบัตร ราชบุตร เป็น ผู้ช่วยราชการเมือง
ชาเนตร เป็น เสมียนตราเมือง
         ในปี พ.ศ. ๒๔๔๓ เมืองมหาสารคาม ได้จัดการแบ่งเขตเมืองตั้งขึ้นเป็นอำเภอคือ (๑) อำเภออุทัยสารคาม (๒) อำเภอประจิมสารคาม ส่วนเมืองวาปีปทุม โกสุมพิสัย ก็คงให้เป็นเมืองขึ้นของเมืองมหาสารคามไปตามเดิม และได้ให้เปลี่ยนเป็นอำเภอในปีนี้ เช่นเดียวกัน
         พ.ศ. ๒๔๔๔ เมืองมหาสารคาม มีอำเภอขึ้นอยู่ในความปกครอง ๔ อำเภอ คือ อุทัยสารคาม ประจิมสารคาม วาปีปทุมและโกสุมพิสัย ยุบเมืองพยัคฆภูมิพิสัย ลงเป็นอำเภอ
พยัคฆภูมิพิสัย และย้ายที่ว่าการอำเภอจากบ้านนาข่าไปตั้งที่ตำบลปะหลานแต่นั้นมา แล้วโอนอำเภอพยัคฆภูมิพิสัยจากเมืองสุวรรณภูมิมาให้ขึ้นอยู่ในความปกครองของร้อยเอ็ดในปีนั้น
         พ.ศ. ๒๔๔๖ ยุบตำแหน่งข้าหลวงกำกับราชการเมืองโดยทั่วไป
         พ.ศ. ๒๔๕๑ ทางราชการได้สั่งให้เปลี่ยนคำที่เรียกว่า “บริเวณ”  เป็น “เมือง” ตามเดิม และปี พ.ศ. ๒๔๕๖ เปลี่ยนคำที่เรียกว่า “ที่ว่าการเมือง” เป็น “ศาลากลางจังหวัด” และเปลี่ยนคำว่าคุ้มหรือบ้านของเจ้าเมืองเรียกว่า “จวนผู้ว่าราชการเมือง”
         พ.ศ. ๒๔๕๔ ย้ายอำเภอประจิมสารคาม จากเมืองมหาสารคามไปตั้งทางทิศตะวันตก เมืองมหาสารคาม ไปติดตั้งกับหนองบรบือ เรียกใหม่ว่าอำเภอท่าขอนยาง และเปลี่ยนนามอำเภออุทัยสารคาม เรียกว่า อำเภอเมืองมหาสารคาม
         พ.ศ. ๒๔๕๙  เปลี่ยนค่ำว่า “ผู้ว่าราชการเมือง” เป็น “ผู้ว่าราชการจังหวัด” และยกเลิกตำแหน่งปลัดมณฑลประจำจังหวัดปีนี้
         พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งมณฑลร้อยเอ็ดขึ้น ตั้งศาลารัฐบาลที่เมืองร้อยเอ็ด (ที่ทำการมณฑลเรียกว่า ศาลากลางรัฐบาลมณฑล) โอนเมืองกาฬสินธุ์ เมืองมหาสารคามจากมณฑลอีสาน (ซึ่งเปลี่ยนเป็นมณฑลอุบลราชธานี) มาขึ้นมณฑลร้อยเอ็ดซึ่งตั้งใหม่ และในปีนี้ได้จัดตั้งศาลยุติธรรมขึ้นในจังหวัดมหาสารคามเป็นครั้งแรก
         โอนอำเภอพยัคฆภูมิพิสัยจากจังหวัดร้อยเอ็ดมาขึ้นในความปกครองของจังหวัดมหาสารคาม โอนอำเภอกันทรวิชัย (แล้วเปลี่ยนเป็นอำเภอโคกพระ) จากจังหวัดกาฬสินธุ์มาขึ้นกับจังหวัดมหาสารคาม ดังนั้น ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ จังหวัดมหาสารคามจึงมี ๖ อำเภอ คือ
         ๑) อำเภอเมืองมหาสารคาม (เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอตลาด)
         ๒) อำเภอเมืองวาปีปทุม
         ๓) อำเภอโกสุมพิสัย
         ๔) พยัคฆภูมิพิสัย
         ๕) อำเภอโคกพระ
         ๖) อำเภอท่าขอนยาง (ถึง พ.ศ. ๒๔๖๐ เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบรบือ)
         พ.ศ. ๒๔๕๗ ได้ก่อสร้างศาลากลางจังหวัด (ต่อมาได้ใช้เป็นที่ว่าการอำเภอเมืองมหาสารคาม เพราะได้มีการสร้างศาลากลางจังหวัดขึ้นใหม่ เสร็จในปี ๒๔๖๗)
         พ.ศ. ๒๔๖๘ โปรดเกล้าฯ ให้ยุบมณฑลร้อยเอ็ดเป็นจังหวัด โอนจังหวัดทั้งสาม คือ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ ไปขึ้นอยู่มณฑลนครราชสีมา
         พ.ศ. ๒๔๗๔ ทางราชการได้ยุบจังหวัดกาฬสินธุ์มารวมขึ้นในความปกครองของจังหวัดมหาสารคามอีก ๕ อำเภอรวมเป็น ๑๑ อำเภอ

         พ.ศ.๒๕๕๐  ทางจังหวัดมหาสารคามเดิมมีอำเภอ  ๑๑  อำเภอ  ๒  กิ่งอำเภอ  ได้ยกฐานะเป็นอำเภอทั้งหมด  รวม  ๑๓  อำเภอ  ดังนี้  ๑.  อำเภอเมือง ,  ๒. อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย  ,๓.อำเภอบรบือ  ๔.อำเภอวาปีปทุม  ๕.อำเภอโกสุมพิสัย  ๖.อำเภอเชียงยืน  ๗.อำเภอนาเชือก  ๘.อำเภอนาดูน  ๙.อำเภอแกดำ  ๑๐.อำเภอกันทรวิชัย  ๑๑.อำเภอยางสีสุราช  ๑๒.อำเภอกุดรัง   และ  ๑๓.อำเภอชื่นชม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 568 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 568 ครั้ง
 
 
  04 ก.ย. 2551 เวลา 10:52:17  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่37)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


ตัวเมืองมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 564 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 564 ครั้ง
 
 
  07 ต.ค. 2551 เวลา 19:20:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   23) โกสุมพิสัย : ดินแดนแห่งดอกมะคำป่า  
  สะเลเต    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


วนอุทยานโกสัมพี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 560 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 560 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 12:16:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่92)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


อาคารเฉลิมพระเกียรติ  80 พรรษา  ม.ราชภัฎมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 559 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 559 ครั้ง
 
 
  04 ก.พ. 2552 เวลา 11:21:47  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   21) มหาสารคาม "ตักสิลานคร"  
  สะเลเต    คห.ที่74)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


บ้านอีสาน ที่ มมส.ใหม่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 546 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 546 ครั้ง
 
 
  04 ก.พ. 2552 เวลา 11:11:13  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   49) กุดนางใย เมืองมหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 
ตอนนี้ผู้ได๋ผ่านเห็นบ่ครับว่าทางเทศบาลเพิ่นกำลังปรับปรุงบริเวณกุดนางใย เด้อครับ  ตอนี้เพิ่นปลูกต้นไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ แล้วกะลงเสาไฟรูปหงษ์  แล้วกะผมว่าบ่เกินปี 53  เห็นทางเทศบาลเมือง ฯ เพิ่นว่าสิก่อสร้างอนุสาวรีย์พระเจริญราชเดช  ในรูปขี่ม้าปราบฮ่อ (ตอนไปปราบฮ่อยู่จังหวัดหนองคาย)  มาจำลองไว้บริเวณนั้นนำครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 543 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 543 ครั้ง
 
 
  08 ม.ค. 2552 เวลา 09:50:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   25) พระกันทรวิชัย : พระประจำจังหวัดมหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


หอพระประธานกันทรวิชัย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 538 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 538 ครั้ง
 
 
  04 ก.พ. 2552 เวลา 11:39:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   25) พระกันทรวิชัย : พระประจำจังหวัดมหาสารคาม  
  สะเลเต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


พระพิมพ์กันทรวิชัย  ขุดพบที่อำเภอโคกพระ  ตำบลโคกพระ  อำเภอกันทรวิชัย  จังหวัดมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 536 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 536 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 13:10:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   23) โกสุมพิสัย : ดินแดนแห่งดอกมะคำป่า  
  สะเลเต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


บึงบอน (อีกมุมหนึ่ง)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 527 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 527 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 12:18:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   26) ปูแป้ง : ปูทูลกระหม่อม : ปูหนึ่งเดียวในโลก  
  สะเลเต    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


        การสำรวจจำนวนประชากรปูทูลกระหม่อม (Thaipotamon chulabhorn) ของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าดูนลำพัน อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งจะสำรวจเป็นประจำทุกปีเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา เพื่อให้ทราบถึงจำนวนประชากรของปูทูลกระหม่อมซึ่งเป็นสัตว์ถิ่นเดียว และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เขตห้ามล่าสัตว์ป่าดูนลำพัน จะทำการสำรวจจำนวนประชากรปูทูลกระหม่อมประมาณเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการนับจำนวนประชากรปูทูลกระหม่อมเนื่องจากฝนเริ่มตกในระยะแรก 2-3 ครั้งก่อนเข้าสู่ช่วงฤดูฝนเพื่อให้เศษใบไม้แห้งในป่ายุบตัวลงและปูที่ปิดปากรูในช่วงฤดูร้อนก็เริ่มเปิดปากรู จึงมองเห็นปากรูปูได้อย่างชัดเจน การสำรวจประชากรปูทูลกระหม่อมประจำปี พ.ศ. 2550 ได้ดำเนินการสำรวจระหว่างวันที่ 20-25 พฤษภาคม 2550 โดยการนับรูปู 1 รู แทนปู 1 ตัว สรุปจำนวนรูปูที่นับได้ 31,192 รู

 
 
สาธุการบทความนี้ : 527 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 527 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 13:48:38  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   26) ปูแป้ง : ปูทูลกระหม่อม : ปูหนึ่งเดียวในโลก  
  สะเลเต    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  สุดยอดปรมาจารย์

ภูมิลำเนา : มหาสารคาม
เข้าร่วม : 21 ก.ค. 2551
รวมโพสต์ : 875
ให้สาธุการ : 10
รับสาธุการ : 2166420
รวม: 2166430 สาธุการ

 


        ชาวอำเภอนาเชือกเล่าให้ฟังว่า สมัยก่อนเมื่อประมาณ 10 กว่าปีที่แล้วที่อำเภอมี นายอำเภอมาใหม่ มาอยู่ใหม่ก็อยากจะพัฒนาให้อำเภอดีขึ้น บังเอิญชาวบ้านมาเล่าให้ฟังเป็นปูที่แปลกสวยงาม อยู่ที่ป่าดูนลำพัน ในอำเภอนาเชือก นอกจากปูจะแปลกแล้ว ป่าก็ยังแปลกเพราะนอกป่าเป็นที่แห้งแล้งทั่วไปหมด ยกเว้นในป่าเป็นที่ชุ่มชื้น ดินดำสนิท มีต้นไม้ใหญ่ และก็มีบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ เหมือนโอเอซิส กลางทะเลทราย

        นายอำเภอด้วยความที่อยากให้พัฒนาให้อำเภอเจริญ ก็เลยจะยกระดับให้มีการท่องเที่ยวเยอะ ๆ จึงสนใจปูแป้ง เรื่ องอาถรรพ์ก็เกิดขึ้น   คือ นายอำเภอคนใหม่ก็เลยเดินทางไป "ป่าดูนลำพัน" เพื่อไปเอาปูแป้งมาดู หลังจากขับรถออกมาได้ไม่เท่าไหร่ รถยนต์เกิดแหกโค้งหน้า "ป่าดูนลำพัน" เสียชีวิต ชาวบ้านก็เลยเล่าลือกันว่าท่านไม่ขอกับ "ศาลปูตา" ที่อยู่ใน "ป่าดูนลำพัน" เสียก่อนเป็นการไม่เคารพสิ่งที่ดูแลรักษาป่า ทำให้ต้องสังเวยชีวิต ชาวบ้านยิ่งเชื่อทำให้ไม่มีใครกล้ากินอีกเลย เล่ากันว่า  สมัยก่อนชาวบ้านก็กินปกติ และสาเหตุที่เรียกว่า "ปูแป้ง" เพราะเวลาสุกจะมีสีขาว ไม่เหมือนปูทั่วไปจะมีสีสม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 527 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 527 ครั้ง
 
 
  12 ก.ย. 2551 เวลา 14:04:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2 3 4 5 6

   

Creative Commons License
ปูแป้ง : ปูทูลกระหม่อม : ปูหนึ่งเดียวในโลก --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ