ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
เห็นว่าเงินคำล้นเต็มถงอย่าฟ้าวอ่ง ลางเทื่อถงขาดก้นสิจนฮ้ายเมื่อลุน แปลว่า เห็นว่าตนมีเงินทองเต็มล้นกระเป๋า อย่าได้หยิ่ง บางทีกระเป๋าแบน จะตกอับในภายหลัง หมายถึง ได้ดีมีสุขแล้ว อย่าหยิ่ง อย่าลืมบุญคุณคน


  ค้นหาสาธุการ ปลาร้านอกไห  

หน้า: 1 2 3 4  
  โพสต์โดย   3) ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
ทุ่งดอกกระเจียว อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ








ชาวไทบน (เนี๊ยกุร,ญัฮกุร) ชนเผ่าท้องถิ่น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1303 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 1302 ครั้ง
 
 
  02 ก.พ. 2552 เวลา 20:14:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   13) สกลนคร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่12)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ฟ้อนหางนกยูง สกลนคร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1265 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1265 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 13:04:41  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่17)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
กู่กาสิงห์ อ.เกษรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด

ศิลปะแบบบาปวน เป็นปราสาทหินที่มีลักษณะคล้ายกับปราสาทบันทายศรีในเขมร

ลักษณะเด่นคือมีขนาดเล็ก และมีรูปแบบการจัดผังปราสาทแบบเดียวกัน









อ้างอิงภาพจาก http://www.roiet.go.th/board

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1117 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1117 ครั้ง
 
 
  02 ก.พ. 2552 เวลา 15:31:23  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ซิ่นลาย หมากโม ของไทดำ อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1078 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 1076 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 11:43:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
งานสมมาน้ำคืนเพ็งเส็งประทีปที่บึงพลาญชัย จ.ร้อยเอ็ด ยิ่งใหญ่อลังการมากครับ



มีสาวล้านนามาร่วมด้วย





ชมภาพอื่นๆ งามๆของจังหวัดร้อยเอ็ดได้ที่

http://www.roiet.go.th/board

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1072 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1072 ครั้ง
 
 
  02 ก.พ. 2552 เวลา 15:20:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   57) ท้าวคันธนาม - นางคำกลอง  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ท้าวคัชนาม(คันธนาม) นิทานพื้นบ้าน

                วรรณกรรมเรื่องท้าวคัชนาม จัดเป็นวรรณกรรมเด่นอีกเรื่องหนึ่งในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่กวีผู้ประพันธ์มีเจตนาที่จะบันทึกเรื่องราวให้เป็นชาดก โดยเชื่อกันว่าเรื่องท้าวคัชนามเป็นเรื่องชาดก แต่ความจริงแล้วไม่ปรากฏอยู่ในนิบาตชาดก

ฉะนั้นเรื่องท้าวคัชนามนี้จึงจัดเป็นชาดกนอกนิบาต กล่าวคือ ตอนเปิดเรื่องได้เล่าถึงความเป็นมาเมื่อครั้งที่พระพุทธองค์เสวยพระชาติเป็น “คันธนโพธิสัตว์” ส่วนของเนื้อเรื่องในแต่ละตอนกวีได้สอดแทรกหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาในรูปของปริศนาธรรมที่ลุ่มลึก เพื่อชี้ให้เห็นถึงบาป บุญ คุณโทษ โลภะ ตัณหา รวมทั้งบุพกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับความเชื่อของชาวอีสานในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ทั้งชาตินี้และชาติหน้าว่าเป็นผลบุญผลกรรมที่ได้กระทำไว้เพื่อได้ไปเกิดในภพใหม่ที่ดีกว่า นั่นคือ โลกของพระศรีอาริย์ ตอนจบเรื่องได้แจกแจงตัวละครว่า ผู้ที่สร้างกุศลผลบุญทำทานด้วยใบลานและเขียน (จาร) ใบลาน จะเป็นผู้มีปัญญาจะได้ถึงสุขทั้งโลกมนุษย์ โลกสวรรค์ และนิพพาน

                โย ปุคคฺโล อันว่าบุคคลผู้ใดแลมาได้ให้ใบลานเป็นทานแก่บุคคลผู้สร้าง ผู้เขียนยังหนังสือธรรมคำสอนแห่งพระพุทธเจ้าแท้ดังนั้น

                โส อันว่าบุคคลผุ้นั้นก็จักได้เถิงสุข 3 ประการแล สุขในเมืองคนก็จักได้เป็นพระยาจักรวัตติราช ได้เป็นอาชญ์กว่าทีปชมพูแท้แล คันว่าสุขในชั้นฟ้าก็จักได้เป็นพระยาอินทร์กินสองชั้นฟ้า ก็มีแล สุขในนิรพานเป็นที่แล้ว บรบวรณ์ควรที่ปัญญาอันได้ให้ยังใบลานเป็นทานแก่เจ้าภิกษุแลสามเณร แล้วให้ทาน สร้างเขียนเอาตามใจมักแท้ดังนั้น ส่วนอันว่าเจ้าทิพย์ปัญญาผู้นั้นก็หากจักได้เอาผละบุญมากนัก แท้ดังนั้น ส่วนอันว่าเจ้าทิพย์ปัญญาผุ้นั้นก็หากจักได้ผละบุญมากนัก แท้ดีหลีแล

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1043 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1043 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2552 เวลา 18:42:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   60) ตำนานเมืองท่าขอนยาง จ.มหาสารคาม และวังสามหมอ จ.อุดรธานี  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
หลังจากนั้นได้พากันมาพักนอนในที่แห่งหนึ่ง ไม่ห่างจากห้วยสังกะเท่าใดนัก ตื่นเช้าขึ้นมาได้พากันพับสาด ( พับเสื่อ ) แล้วม้วนไว้ ( ที่แห่งนี้ปัจจุบันเป็นที่ตั้งหมู่บ้าน เรียกว่าบ้านพับ ) และพากันแบกพันสาด ( ม้วนเสื่อ )  และพากันเดินลัดตัดไปตามสันโคกจนตลอดทั้งวัน เมื่อมาถึงป่าทึบปรากฏว่ามีน้ำซับน้ำซึมมาก เต็มไปด้วยสัตว์ร้ายนานๆชนิด เช่น เสือ ช้าง งูพิษ มากมาย ถ้าหากจะอาศัยนอนที่พื้นดินคงจะไม่ปลอดภัยแน่นอน จึงได้พากันทิ้งพันสาดไว้ที่ข้างล่าง แล้วพากันไปผูกอู่ ( เปล ) นอนบนต้นไม้ ปัจจุบันเรียกที่แห่งนี้ว่า "คำแขวนอู่" ( อยู่ในเขต อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสนธุ์ )

ตื่นเช้าขึ้นมาด้วยความรีบเร่ง ที่จะเดินทางต่อไปจึงพากันลืมพันสาดที่วางไว้ที่คำแขวนอู่ และขณะเดินทางไม่มีใครนึกถึงเลย เมื่อเดินทางมาพอกินข้าวเช้า จึงได้มาถึงลำห้วยแห่งหนึ่ง เห็นมีกลอยมากคณะติดตามจึงได้พากันขุดหัวกลอยมานึ่งกินแทนข้าว พอกินเสร็จปรากฏว่าเมากลอย ( กลอยมีลักษณะคล้ายมันชอบเกิดอยู่ตามป่า ตามเชิงเขา และที่ชุ่มชื้น ) ลำห้วยแห่งนี้จึงได้เรียกว่า "ห้วยกลอย" จนถึงปัจจุบัน

เมื่อทุกคนสร่างเมากลอยแล้วจึงได้เดินทางไปตลอดวัน และมาค่ำที่ลำห้วยแห่งหนึ่งจึงเตรียมตัวพักนอนทุกคนได้ถามหาสาด ( เสื่อ ) ที่พันไว้ จึงได้ทบทวนย้อนหลังดู และนึกได้ว่าได้ลืมไว้ที่คำแขวนอู่ ลำห้วยแห่งนี้จึงได้ชื่อว่า "ห้วยพันสาด"  ภายหลังได้เรียกช่อเพี้ยนมาเป็น ห้วยพันชาดจนกระทั่งบัดนี้  ณ ที่พักนอนอแห่งนี้เป็นแก่งหิน บางแห่งเป็นหาดทรายน่านอนมาก และที่แห่งนี้มีตนก้านเหลืองปกคลุมร่มรื่นเย็นสบาย จึงได้ชื่อว่า"แก่งก้านเหลือง"  ( อยู่ด้านเหนือของสะพานคอนกรีตข้ามลำพันชาดตอนบ้านหนองลุมพุก อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ไปบ้านหนองกุงใหญ่ กิ่ง อ.สามชัย จ.กาฬสินธุ์ )

ตื่นเช้าขึ้นมาคณะติดตามได้ตรวจค้นหารอยบักเฮ้า ปรากฏว่าบักเฮ้าไม่ได้ว่ายน้ำไปตามลำน้ำแต่มันขึ้นบนบกคลานเลียบฝั่งพันชาดขึ้นไปตอนบน ผ่านภูเขาและป่าดงดิบ คณะติดตามได้อาศัยอาหารจากดงแห่งนี้และมีพืชพันธุ์ธัญญาหารมากมายเหมือนกับมีคนมาปลูกไว้และในดงแห่งนี้มีผึ้งมากมายรังผึ้งจะห้อยระย้าเต็มไปหมด จึงได้เรียกดงแห่งนี้ว่า "ดงสวนผึ้ง" หรือ ดงสวน อยู่ทางทิศตะวันออกของลำพันชาด ด้าน อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์

เมื่อคณะติดตามผ่านดงนี้ไปจึงรู้แน่ชัดว่า ขณะนี้ได้ติดตามบักเฮ้ามาอย่างกระชั้นชิดแล้วเพราะปรากฏรอยชัดเจน  เมื่อพ้นออกจากดงสวนจึงได้พบรอยบักเฮ้าลงไปอยู่ในแอ่งน้ำแห่งหนึ่งมีขนาดลึกมากและแคบ บักเฮ้าอยู่ไม่ได้จึงขึ้นมาจากแอ่งแล้วรีบหนีลงมาตามลำพันชาดไม่ได้ขึ้นบกอีก คณะติดตามได้เดินเลียบฝั่งลำพันชาดลงมาเรื่อยๆพร้อมกับสำรวจแอ่งน้ำตลอดทาง

เมื่อมาถึงที่แห่งหนึ่งพบว่าเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่ มีน้ำตกเป็นระยะทางยาว ทำให้เกิดวังน้ำกว้างใหญ่เป็นที่น่าเกรงขามยิ่งนัก บรรดาหมอจระเข้ทั้งหลายไม่กล้าลงไปสำรวจ เป็นเพียงเสี่ยงเทียน ลอยเทียน และนั่งทางในดูเท่านั้น เนื่องจากวังน้ำแห่งนี้เป็นที่น่าเกรงขามดังกล่าวจึงได้ชื่อว่า "วังเกรงขาม" ภายหลังได้เพี้ยนมาเป็น "วังแก่งขาม" จนถึงปัจจุบัน

ผลของการเสี่ยงเทียน ลอยเทียน และนั่งทางในดูปรากฏว่า บักเฮ้าไม่ได้อยู่ที่นี่ เป็นเพียงผ่านไปเฉยๆ โดยมุ่งหน้าลงไปทางใต้ คณะติดตามจึงได้มุ่งหน้าติดตามลงไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตรเศษ จึงได้พบวังน้ำขนาดใหญ่เห็นรอยบักเฮ้าลงที่นี่ วังน้ำแห่งนี้มีขนาดกว้าง 2 เส้น ยาว 6 เส้น และลึก 1 เส้น หมอจระเข้ได้ทำพิธีกรรมตรวจหาบักเฮ้าดู ก็รู้ได้ว่าบักเฮ้าได้อาศัยอยู่ที่นี่ โดยไม่รอช้า ขุนบวร กับ ขุนประจวบ จึงได้สั่งให้หมอจระเข้ลงไปจับให้ได้ หมอคนแรกคือ "หมอบุญ" ลงน้ำไปตั้งแต่เช้าจนกระทั่งค่ำก็ไม่เห็นขึ้นมา จึงได้สั่งให้ "หมอพรหม" ตามลงไปดูและช่วยเหลือตลอดทั้งคืน ตอนเช้าก็ยังไม่เห็นโผล่ขึ้นมาทั้งสองคน จึงเหลือแต่หมอคนสุดท้าย คือ หมอผู้หญิง ตามที่เล่าไว้ตั้งแต่ต้นแล้ว หมอผู้หญิงคนนี้มีชื่อว่า "ยาแม่คำหม่อน"

ยาแม่ได้พิจารณารอบคอบแล้วเห็นว่า หมอบุญกับหมอพรหม นั้นถูกบักเฮ้ากินแน่แล้ว เพื่อความแน่นอนจึงควรที่จะได้ลงไปดูอีกครั้ง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1028 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1028 ครั้ง
 
 
  08 ต.ค. 2552 เวลา 12:02:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ซิ่นมัดหมี่สลับขิด ของชาวไทเลย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 990 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 989 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 11:41:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
เผ่าไทดำ จ.เลย






 
 
สาธุการบทความนี้ : 974 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 971 ครั้ง
 
 
  03 ก.พ. 2552 เวลา 10:53:17  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่18)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ยิ่งมาอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่มแบบนี้ยิ่งงาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 956 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 955 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 12:32:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่19)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ผูกข้อต่อแขนให้นักท่องเที่ยว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 936 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 935 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 12:35:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ผ้าซิ่นมัดหมี่ ของชาวไทเลย
ยังคงเอกลักษณ์ของผ้าซิ่นกลุ่มไทลาว เอาไว้อย่างดี
คือมีการต่อหัวซิ่นและตีนซิ่น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 931 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 929 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 11:39:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่17)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


การแต่งกายของชาวภูไทบ้านโคกโก่งแห่งนี้ ก็สวยงามมากครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 930 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 929 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 12:29:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   8) มุกดาหาร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


สาวภูไทมุกดาหาร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 905 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 904 ครั้ง
 
 
  11 ก.พ. 2552 เวลา 18:19:52  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 

พระธาตุศรีสองรัก

ตั้งอยู่อำเภอด่านซ้าย  จังหวัดเลย




องค์พระธาตุที่จำลองไว้ในวัดโพนชัย ต.ด่านซ้าย  อำเภอด่านซ้าย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 897 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 896 ครั้ง
 
 
  03 ก.พ. 2552 เวลา 11:04:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 








สาวงาม ไทเลย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 878 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 876 ครั้ง
 
 
  03 ก.พ. 2552 เวลา 11:02:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   8) มุกดาหาร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


การแต่งกาย ภูไทมุกดาหาร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 871 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 870 ครั้ง
 
 
  03 เม.ย. 2552 เวลา 08:41:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   36) ตำนานผาแดงนางไอ่ (เวอร์ชั่นละเอียด)  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่5) นางไอ่คำ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ภาพ นางไอ่คำ (ยังไม่เสร็จดีนะครับ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 863 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 862 ครั้ง
 
 
  29 พ.ค. 2552 เวลา 15:09:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่16)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


มานั่งเปิดพิธีต้อนรับนักท่องเที่ยว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 861 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 860 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 12:16:23  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   3) ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่18)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


มอหินขาว อ.เมือง จ.ชัยภูมิ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 855 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 855 ครั้ง
 
 
  24 ธ.ค. 2552 เวลา 14:16:17  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


เอกลักษณ์อีกอย่างคือในผ้าซิ่นจะมีการสอดดิ้นเงิน ดิ้นทองเอาไว้ด้วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 850 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 850 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 11:40:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   11) เลย  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 



ผีตาโขน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 848 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 847 ครั้ง
 
 
  03 ก.พ. 2552 เวลา 11:06:05  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่19)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
งานวัน ไหลเรือไฟ ปล่อยโคม  วัดท่าสะแบง เสลภูมิ  ร้อยเอ็ด










อ้างอิงภาพจาก http://www.roiet.go.th/board

 
 
สาธุการบทความนี้ : 817 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 817 ครั้ง
 
 
  02 ก.พ. 2552 เวลา 15:37:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่18)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
เจดีย์(พระธาตุ)ศรีมหาบัว อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด





อ้างอิงภาพจาก http://www.roiet.go.th/board

 
 
สาธุการบทความนี้ : 795 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 795 ครั้ง
 
 
  02 ก.พ. 2552 เวลา 15:34:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   57) ท้าวคันธนาม - นางคำกลอง  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
หมายเหตุ

                ตามเนื้อเรื่องสำนวนอื่นๆ จะเล่าต่อไปจนถึงรุ่นลูกของท้าวคัชนาม คือคัชเนกและคัชจันทร์ ท้าวคัชเนกและคัชจันทร์ มีอิทธิฤทธิ์มาก ทั้งสองวิวาทกันทำศึกเป็นมหาภารตยุทธ คือสะเทือนไปทั้งโลกจักรวาล เดือดร้อนไปถึงหมู่เทพเทวา เทวดาจึงไปเฝ้าพระยาแถนให้มาห้ามทัพ พระยาแถนเล็งเห็นว่าท้าวคัชเนกสิ้นบุญแล้ว จึงบันดาลลมมีดแถ (มีดโกน) ไปยังกองทัพของสองพี่น้อง ลมมีดแถฟันท้าวคัชเนกสิ้นชีวิตตกลงบนแผ่นดิน ร่างท้าวคัชเนกกลายเป็นภูเขาชื่ว่า “ภูจอมสี” เป็นภูเขาอยู่กลางเมืองหลวงพระบาง ศีรษะตกลงดินกลายเป็นพระยานาค เลือดตกลงมาเป็นก้อนสีแดง เรียกว่า “ภูครั่ง” ร่างส่วนหนึ่งตกมากระทบแผ่นดินเป็นหลุมใหญ่ในหุบเขา ภายหลังกลายเป็นเมืองเรียกว่า “เมืองหล่ม” (อำเภอหล่มสัก)



                เรียบเรียงจาก ธวัช ปุณโณทก : สารานุกรมวัฒนธรรมอีสาน เล่ม 5 . พ.ศ. 2542 หน้า 1616 - 1618

 
 
สาธุการบทความนี้ : 793 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 793 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2552 เวลา 18:45:07  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   18) อุดรธานี  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่24) ชาวภูไทใน อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ชาวภูไทใน อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ไม่มีการฟ้อนละคอนเหมือนชาวภูไทในจังหวัดอื่นๆ แต่จะมีการฟ้อนภูไท และการฟ้อนกลองกิ่ง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 766 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 765 ครั้ง
 
 
  07 ก.ค. 2553 เวลา 07:44:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   9) ยโสธร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่2) พระธาตุอานนท์ พระธาตุคู่บ้านคู่เมืองยโสธร      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 




พระธาตุยโสธร หรือ พระธาตุอานนท์

เป็นพระธาตุเก่าแก่ที่สำคัญองค์หนึ่งในภาคอีสาน เจดีย์เป็นทรงสี่เหลี่ยมหรือทรงพรหมสี่หน้า ส่วนยอดคล้ายพระธาตุพนม ภายในพระธาตุบรรจุอัฐิธาตุของพระอานนท์ การก่อสร้างได้รับอิทธิพลศิลปะลาวที่นิยมสร้างขึ้นเมื่อปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์ ซึ่งตรงกับประวัติการตั้งเมืองและประวัติของวัดมหาธาตุฉบับหนึ่งว่า สร้างราว พ.ศ. ๒๓๒๑ โดยท้าวหน้า ท้าวคำสิงห์ ท้าวคำผา ซึ่งเดิมเป็นเสนาบดีเก่าของกรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ต่อมาได้อพยพผู้คนภายใต้การนำของพระวอ พระตา ราว พ.ศ. ๒๓๑๓ - ๒๓๑๙ มาตั้งถิ่นฐาน ณ ที่นี้


ลักษณะพระธาตุ
ฐานรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาวด้านละ ๘๑ เมตร สูงสุดยอด ๑๒ วา ๒ ศอก ก่ออิฐถือปูนเอวฐานคอดเป็นรูปบัวคว่ำบัวหงาย เหนือขึ้นไปเป็นเรือนธาตุ มีซุ้ม ๔ ทิศ ประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืน ส่วนยอดธาตุมียอดปลีเหล็กแซมทั้ง ๔ ด้าน ยอดกลางทรงสี่เหลี่ยมสอบ มี ๒ ชั้น รูปแบบการก่อสร้างคล้ายกับพระธาตุก่องข้าวน้อย และทางวัดจะจัดให้มีงานสมโภชพระธาตุอานนท์ขึ้นเป็นประจำทุกปีในเดือนมีนาคม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 763 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 762 ครั้ง
 
 
  20 พ.ค. 2552 เวลา 13:31:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   57) ท้าวคันธนาม - นางคำกลอง  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
เรื่องท้าวคัชนามนี้ ชาวอีสานนำมาเป็นนิทานอธิบายเชื่อบ้านนามเมืองอีกเรื่องหนึ่ง โดยอธิบายที่มาของชื่อภูเขาสำคัญชื่อสถานที่ในภาคอีสาน เนื้อเรื่องท้าวคัชนามเป็นเรื่องขนาดยาวหลายตอนจบ และบางตอนก็คล้ายกับเรื่อง “อ้ายเจ็ดทะนง” ของภาคกลาง และเรื่อง “อ้ายตะเลิ้กเคิ่ก” ของภาคเหนือ และเรื่อง “อ้ายเจ็ดจา” ของภาคใต้ มีเรื่องย่อดังนี้

        ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีแม่เฒ่ายากจน อาศัยอยู่ที่เมืองศรีสาเกตุเพียงผู้เดียว ไร้ญาติที่พึ่งพา ชาวบ้านสงสารจึงแบ่งที่ดินให้ทำนา แม่เฒ่าก็ทำนาพอเลี้ยงชีพ

แต่ครั้งหนึ่งแม่เฒ่าไปดูข้าวที่ปลูกไว้พบว่า มีรอยเท้าช้างเหยียบย่ำข้าวในนาเสียหาย นางจึงติดตามรอยเท้าช้าง นางรู้สึกกระหายน้ำอย่างยิ่ง เห็นแต่มีน้ำอยู่ในรอยเท้าช้าง แม่เฒ่าจึงดื่ม ครั้นดื่มน้ำในรอยเท้าช้างแล้วรู้สึกมีกำลังเหมือนสาวๆ น้ำในรอยเท้าช้างนั้นเป็นน้ำปัสสาวะของช้างจำแลง ซึ่งพระอินทร์จำแลงมาเพื่อที่จะช่วยเหลือให้เทพบุตรมาเกิดในครรภ์ของนาง

ฉะนั้นเมื่อนางกลับบ้านก็ตั้งครรภ์ ประมาณสิบเดือนคลอด บุตรชาย มีรูปร่างแข็งแรง มีดาบศรีคันชัย(ศรีขรรค์ชัย) มาด้วย คัชนามช่วยเหลือแม่เฒ่าทำงานตั้งแต่เล็กๆ

วันหนึ่ง คัชนามถามถึงบิดา แม่เฒ่าก็เล่าให้ฟังและพาไปป่าเพื่อดูรอยเท้าช้างที่แม่เฒ่าดื่มน้ำ ขณะนั้นได้พบยักษ์ ยักษ์เข้าทำร้ายแม่เฒ่า คัชนามจึงต่อสู้กับยักษ์ใช้ดาบศรีคันชัยสู้กับยักษ์ ยักษ์ยอมแพ้จึงมอบน้ำเต้าวิเศษให้และบอกแหล่งช่อนขุมทอง ทั้งสองแม่ลูกไปค้นหาแหล่งขุมทองพบทองคำจำนวนมากจึงทำให้สองแม่ลูกมีฐานะดีขึ้นและแบ่งทองคำให้เพื่อนบ้านทุกคน

                เมื่อท้าวคัชนามอายุ 16 ปี ข่าวเล่าลือเป็นคนมีกำลังมาก สามารถปราบยักษ์ได้ล่วงรู้ไปถึงพระยาศรีสาเกตฯ จึงเรียกเข้าเฝ้า สั่งให้ทดลองกำลังถอนต้นตาล 2 ต้น ที่ขวางทางเสด็จ ท้าวคชนามก็ถอนได้ แล้วเหาะไปในอากาศกวัดแกว่งต้นตาลด้วยกำลัง พระยาศรีสาเกต จึงแต่งตั้งให้เป็นอุปราชและสร้างปราสาทให้ประทับ ท้าวคัชนามก็พาแม่เฒ่ามาอยู่ด้วย และใช้น้ำเต้าวิเศษรดบนร่างกายแม่เฒ่า แม่เฒ่าก็กลับร่างเป็นสาวรุ่น



วันหนึ่ง ท้าวคัชนามก็ลาแม่ติดตามบิดา ท้าวคัชนามเดินตามรอยเท้าช้างไปยังเมืองอินทปัตถา ระหว่างทางไปพบชายร้อยเล่มเกวียนที่กำลังลากเกวียน 500 เล่มด้วยตัวคนเดียว ท้าวคัชนามจึงประลองกำลังโดยไปดึงเกวียนเล่มท้าย ชายร้อยเล่มเกวียนลากเกวียนไม่ไหวจึงหันมาดูข้างหลังพบท้าวคัชนาม จึงต่อสู้กัน ชายร้อยเล่มเกวียนสู้ไม่ได้จึงขอเป็นทาสติดตามไปด้วย ต่อมาพบชายไม้ร้อยกอกำลังลากไม้ร้อยกอ ท้าวคัชนามก็ประลองกำลังจับไม้ที่กำลังถูกลาก ชายไม้ร้อยกอโกรธจึงต่อสู้กัน ท้าวคัชนามชนะชายไม้ร้อยกอจึงยอมเป็นทาสติดตามไปด้วย ทั้งสามก็เดินทางไปตามหาบิดาท้าวคัชนาม



                ทั้งสามเดินทางไปถึงป่าหิมพานต์จึงหยุดพักด้วยความหนื่อยและหิวอาหาร พอดีเห็นตัวจีนายโม้ (แมลงคล้ายจิ้งหรีด) กำลังขุดขุยดินกระเด็นข้ามแม่น้ำโขงไปตกใกล้เมืองเวียงจันทน์ ยังเห็นกลายเป็นก้อนหินจำนวนมากกองอยู่ ปัจจุบันเป็นค่ายทหารลาวเรียกว่า “ค่ายจีนายโม้” เพราะมีหินซึ่งหลายมาจากขี้ขุยดินที่ตัวจิ้งหรีดยักษ์ขุดกระเด็นมาตกไว้


เมื่อครั้งนั้น ท้าวคัชนามจึงให้ชายทั้งสองไปจับจิ้งหรีดยักษ์มากิน แต่ชายทั้งสองมีกำลังสู้จิ้งหรีดยักษ์ไม่ได้ ถูกดีดสลบกระเด็นไปไกล ท้าวคัชนามจึงลงไปในรูจับได้ขาข้างหนึ่ง ตัวจิ้งหรีดยักษ์พยายามดีดจนขาหลุดมาข้างหนึ่ง เมื่อท้าวคัชนามได้ขาจิ้งหรีดยักษ์ จึงหาเพื่อนทั้งสองเห็นสลบอยู่ไม่ไกลนัก ท้าวคัชนามเอาน้ำในลูกน้ำเต้ารดลงที่ร่างชายทั้งสองก็ฟื้นขึ้นมา ท้าวคัชนามจึงให้ไปขอไฟที่กระท่อมที่อยู่ไม่ไกลนัก เมื่อชายไม้ร้อยกอไปก็พบยักษ์ถูกยักษ์จับหักขาขังไว้ที่สุ่มเหล็ก ครั้นให้ชายร้อยเล่มเกวียนไปตามก็ถูกยักษ์จับหักขาเช่นเดียวกัน ท้าวคัชนามคอยอยู่นานจึงติดตามไปดูเห็นเพื่อนผู้มีกำลังถูกจับขังอยู่ในสุ่มเหล็ก รู้ว่ายักษ์ตนนี้มีฤทธิ์มากจึงใช้ดาบศรีคันชัย ยักษ์สู้ไม่ได้ร้องขอชีวิตไว้ ยักษ์ให้ไม้ท้าววิเศษ “กกชี้ตาย ปลายชี้เป็น” และพิณวิเศษแก่ท้าวคัชนาม ท้าวคัชนามได้ใช้น้ำในลูกน้ำเต้ารดเพื่อนทั้งสอง ทั้งสองก็หายจากขาหัก ทั้งสองจึงย่างขาจิ้งหรีดยักษ์กินเป็นอาหารจนอิ่ม แล้วจึงเดินทางต่อไป

                ทั้งสามเดินทางเข้าเมืองขวางทะบุรี พบว่าเป็นเมืองร้างไม่มีผู้คนอยู่เลย พอถึงกลางเมืองพบกลองใบใหญ่ใบหนึ่ง จึงตีกลองเพื่อเรียกให้ผู้คนออกมาพบ ครั้นตีกลองก็ได้ยินเสียงผู้หญิงร้อง จึงใช้มีดกรีดหน้ากลอง พบหญิงสาว จึงช่วยออกมาแล้วถามความเป็นไป



นางเล่าว่า นางชื่อ “กองสี” เป็นธิดาเจ้าเมือง เจ้าเมืองนำตนมาช่อนไว้ให้พ้นจากงูซวง (งูผีของพระยาแถน) ส่วนเจ้าเมืองและไพร่พลถูกงูซวงของพระยาแถนกินหมดแล้ว เนื่องจากเจ้าเมืองและชาวเมืองประพฤติตนไม่อยู่ในจารีต เจ้าเมืองไม่อยู่ในทศพิธราชธรรม และชาวเมืองยิงนกตกปลา ฆ่าสัตว์ ทำบาป พระยาแถนจึงปล่อยงูซวงออกมากินคนจนหมดเมือง นางบอกว่าถ้าหากก่อไฟงูซวงเห็นแสงไฟก็จะลงมาอีก ท้าวคัชนามจึงก่อกองไฟใหญ่ให้แสงส่องถึงเมืองพระยาแถน ครั้นงูซวงลงมาจำนวนมากก็ถูกท้าวคัชนามและสหายช่วยกันฆ่าตายหมด ท้าวคัชนามจึงช่วยชีวิตชาวเมือง ขวางทะบุรี โดยใช้ไม้เท้ากกชี้ตายปลายชี้เป็น ชี้ไปยังกระดูกคน ผู้คนชาวเมืองก็ฟื้นคืนชีพทุกคน ส่วนกระดูกงูนั้นไหลตามน้ำไป เมื่อฝนตกใหญ่พัดพาไปติดที่ดักปลาของยักษ์ซึ่งนำก้อนหินใหญ่ๆ มาทำลี่ดักปลายอยู่กลางน้ำโขง เมื่อกระดูกงูลอยมาติดจำนวนมากจึงเรียกว่า “แก่งลี่ผี” และเพี้ยนเสียงเป็น “แก่หลี่ผี” ส่วนกองไฟที่ท้าวคัชนามก่อนั้นเมื่อถูกฝนตกใหญ่จึงดับ กลายเป็นภูเขาเรียกว่า “ดงพระยาไฟ” แล้วเปลี่ยนเป็น “ดงพระยาเย็น” ภายหลัง เมื่อเจ้าเมืองขวางทะบุรีฟื้นแล้วก็ดีพระทัย จึงยกเมืองให้ท้าวคัชนามพร้อมทั้งนางกองสี ท้าวคัชนามให้ชายร้อยกอเป็นอุปราช และชายร้อยเล่มเกวียนเป็นแสนเมือง

                อยู่ไม่นานท้าวคัชนามก็ต้องเดินทางติดตามบิดาของตนต่อไป โดยฝากเมืองให้เพื่อนทั้งสองดูแล ท้าวคัชนามไปอยู่กับแม่เฒ่าที่เมืองจำปานคร ได้นางสีไวธิดาเศรษฐีเป็นภรรยา มีบุตรคนหนึ่งชื่อ “คัชเนก” วันหนึ่งพระยาจำปาเสด็จประพาสป่าพบยักษ์ ยักษ์จับพระยาจำปาได้ พระยาจำปาขอชีวิต ยักษ์จึงแลกเปลี่ยนให้หามนุษย์ให้ยักษ์กินวันละคน พระยาจำปารับคำแล้วเสด็จกลับเมือง พระยาจำปาก็ทำตามสัญญาโดยสั่งให้นำนักโทษไปไว้ที่หอผีกลางเมืองตามที่ยักษ์สั่งไว้ ครั้นเมื่อหมดนักโทษพระยาจำปาคิดว่าคงไม่สิ้นเวรกรรม หากนำคนที่ไม่ผิดไปให้ยักษ์กิน จึงคิดว่าตนเองควรจะไปเป็นอาหารยักษ์เสีย จะได้สิ้นเวรสิ้นกรรม ข่าวรู้ถึงนางสีดาธิดาคนเดียวของพระยาจำปา นางจึงอาสาพระบิดาไปเป็นอาหารยักษ์แทน พระบิดาจำใจต้องยินยอมนาง เพราะนางมีความตั้งใจอย่างแน่วแน่แล้ว นางขอเบิกเงินในท้องพระคลังทำบุญและแจกทานแก่ไพร่ฟ้าประชาชนก่อนที่จะอาสาไปเป็นอาหารยักษ์ ชาวเมืองทราบข่าวต่างอาลัยพระธิดาร่ำไห้กันทั้งเมือง ท้าวคัชนามเห็นประชาชนเมืองจำปาร่ำไห้จึงถามแม่เฒ่า แม่เฒ่าจึงเล่าเรื่องให้ฟัง พอตกดึกท้าวคัชนามจึงเหาะไปที่หอผีกลางเมืองเปิดประตูเข้าหานางสีดา นางสีดาคิดว่าเป็นยักษ์ ท้าวคัชนามจึงแสดงตนทันที แล้วกล่าววาจาปลอบนางไม่ต้องกลัวยักษ์ ครั้นเมื่อยักษ์มาถึงท้าวคัชนามฆ่ายักษ์ตาย แล้วนำซากไปทิ้งไว้ที่หนองน้ำ ท้าวคัชนามกลับมาหานางสีดาที่หอผี นางขอร้องให้พานางไปส่งตำหนัก ท้าวคัชนามกล่าวว่าไม่บังควร ผู้คนจะนินทาว่านางทำมายาคบชู้ ท้าวคัชนามจึงลานางกลับด้วยความอาลัย ท้าวคัชนามจึงตัดผ้าแสนคำให้นางสีดาดูต่างหน้า ส่วนางสีดาให้แหวน ทั้งสองก็ลาจากกัน

                ครั้นรุ่งเช้าชายหาหญ้าไปพบซากยักษ์ที่หนองน้ำ ก็ร้องประกาศว่ายักษ์ตายแล้ว พระยาจำปาจึงให้ไปรับนางสีดากลับวัง นางสีดาเล่าเรื่องชายผู้มีอิทธิฤทธิ์ให้ฟัง พระยาจำปาจึงให้ประกาศหาชายผู้มีฤทธิ์ สั่งทหารไปเกณฑ์ชายหนุ่มให้นำผ้ามาต่อชายกับผ้าที่ระลึกของนางสีดา มีผู้อาสามากมาย แต่ก็ไม่มีใครมีผ้าเป็นผืนเดียวกัน ทหารจึงทูลว่ามีชายหนุ่มที่อาศัยอยู่กับแม่เฒ่าในสวนไม่ยอมมา พระยาจำปาให้ทหารไปตามถึงสามครั้ง ครั้งหลังพระยาจำปาจะฆ่าทหารถ้านำตัวมาไม่ได้ ท้าวคัชนามเห็นดังนั้นจึงมาที่ท้องพระโรง และนำผ้าแสนคำมาต่อกับผ้าของนางสีดา พระยาจำปาเห็นเช่นนั้นก็ดีพระทัย ที่เห็นท้าวคัชนามบุรุษผู้มีฤทธิ์ และมีบุญญาธิการมาช่วยปราบยุคเข็ญ จึงยกพระธิดาให้และให้ครองเมืองจำปาต่อไป พระยาจำปาจัดงานสมโภชการครองเมืองของท้าวคัชนาม ส่วนซากยักษ์นั้นท้าวคัชนามนำไปทิ้งในหนองน้ำเรียนกว่า “หนองแช่” ในปัจจุบัน กระดูกยักษ์ส่วนหนึ่งกลางเป็นนาค 5 ตัว ในแม่น้ำโขง และกระดูกชิ้นเล็กๆ กลายเป็นปลาบึก ปลาเลิม ในเม่น้ำโขงนั่นเอง (ต้นฉบับจบเท่านี้)




 
 
สาธุการบทความนี้ : 762 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 761 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2552 เวลา 18:44:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   8) มุกดาหาร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
ชาวภูไท หรือ ผู้ไท เมืองมุกดาหาร





แม่หม่อนแก้ว ดาวเด่นของภูไทกลุ่มนี้

 
 
สาธุการบทความนี้ : 761 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 760 ครั้ง
 
 
  11 ก.พ. 2552 เวลา 18:08:40  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   66) ดอกไม้ ต้นไม้ เคยเห็นอยู่อิสานมาแต่กก แต่เค้า  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่78) ใบหนาด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ต้นหนาดจัดเป็นไม้ตระกูลไม้พุ่ม ทุกส่วนของต้นจะมีกลิ่นการบูร  ใบมีขนาดใหญ่และขนดก มีสรรพคุณในการส่งเสริมและซ่อมสุขภาพ คือช่วยลดไข้ แก้ปวดท้อง (โดยเฉพาะอาการท้องอืดท้องเฟ้อ) ช่วยในเรื่องเหน็บชาและโรคอื่นๆ อีกหลายโรค

บางคนนำใบหนาดมามวนสูบเพื่อแก้ริดสีดวงจมูกด้วย และกันผีได้ด้วยยยยยยย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 745 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 744 ครั้ง
 
 
  15 ก.ค. 2553 เวลา 10:17:25  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   56) เมืองฟ้าแดดสูงยาง .......นางมณีฟ้าหยาด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่0) เมืองฟ้าแดดสูงยาง .......นางมณีฟ้าหยาด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


เมืองฟ้าแดดสงยาง เป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรือง มีความอุดมสมบูรณ์ผู้ปกครองเมืองคือพญาฟ้าแดด มีพระมเหสีชื่อ "พระนางจันทาเทวี"(เขียวค่อม) มีพระธิดาชื่อ "พระนางฟ้าหยาด" เป็นผู้ที่มีพระสิริโฉมงดงามมาก เป็นที่หวงแหนของพระราชบิดา-มารดา

พญาฟ้าแดดให้ช่างสร้างปราสาทเสาเดียวไว้กลางน้ำ โดยใช้ศิลาแลงในการก่อสร้างบริเวณนี้ปัจจุบันเรียกว่า "โนนฟ้าแดด" นอกนั้นยงมีการขุดสระไว้รอบเมือง มีคูค่ายและเชิงเนิน มีหอรบอย่างแข็งขัน สระที่ขุดไว้ในปัจจุบันเป็นหนองน้ำสาธารณะ เมืองลูกหลวงของเมืองฟ้าแดดคือ เมืองสงยาง มอบให้อนุชาชื่อ พญาอิสูรย์ (เจ้าฟ้าระงึม) เป็นผู้ครองเมือง เมืองทั้งสองห่างกันประมาณ 2 กิโลเมตร เลยรวมเรียกว่า "เมืองฟ้าแดดสงยาง"

เมืองเชียงโสม เป็นเมืองหนึ่งที่มีความใกล้ชิดกับเมืองฟ้าแดด มีพญาจันทราชเป็นผู้ปกครอง

จัดให้มีเทศกาลเล่นหมากรุก และตีหิงคลี ใครแพ้-ชนะ ก็จะส่งส่วยกินเมืองตามประเพณี ครั้งหนึ่งพญาจันทราชได้ออกล่าสัตว์ และต่อไก่ มุ่งหน้าลงทางใต้ จึงถึงหนองเลิง ได้หลงทางเข้าไปในอุทยานของนางฟ้าหยาด เมื่อพญาจันทราชพบหน้านางฟ้าหยาดก็ชอบพอ

ต่อมาพญาจันทราชเดินทางกลับเมืองเชียงโสมได้มอบให้ขุนเล็ง ขุนดาน นำเครื่องบรรณากาารมาสู่ขอนางฟ้าหยาด แต่ไม่สำเร็จ

พญาจันทราช จึงได้เคลื่อนขบวนทัพมาตีเมืองฟ้าแดดสงยาง โดยขอความช่วยเหลือไปยังเมืองเชียงสง เชียงสา เชียงเครือ ท่างาม น้ำดอกไม้ สาบุตรกุดอก ให้ส่งกองทัพมาช่วยฝ่ายพญาฟ้าแดด เมื่อทราบข่าวก็ขอความช่วยเหลือไปยังผู้ปกครองเมืองสงยางผู้เป็นอนุชาให้มาช่วยรบ เมื่อเกิดสงครามมีคนล้มตายเป็นจำนวนมาก พญาจันทราชสิ้นพระชนม์บนคอช้าง แม่ทัพนายกองเห็นดังนั้นก็ยอมแพ้

นางฟ้าหยาดเมื่อทราบข่าวก็มีความเสร้าโศกจนสิ้นชีวิตบนปราสาทกลางน้ำ ต่อมาพญาฟ้าแดดก็ให้ นำศพนางฟ้าหยาด และศพพญาจันทราช บรรจุลงในหีบทองคำ ตกแต่งอย่างสมพระเกียรติ และให้สร้างเจดีย์คู่เป็นอนุสรณ์ไว้ (ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของโนนเมืองฟ้าแดดสงยาง)

ก่อนที่จะบรรจุอัฐิของนางฟ้าหยาดกับพญาจันทราช ได้รับสั่งให้ช่างหลอพระพุทธรูปและเทวรูปทองคำ จำนวน 84,000 องค์ ประกาศให้ชาวเมืองฟ้าแดดสงยางหล่อหรือสร้างพระพุทธรูปทุกครัวเรือน โดยให้หล่อหรือสร้างด้วยทองคำ อิฐ หิน หรือดินเผาแล้วแต่ศรัทธา แล้วบรรจุไว้ในเจดีย์คู่ เพื่อเป็นการบูชาและล้างบาปที่กระทำไว้

จากนั้นได้มอบให้พญาธรรมไปครองเมืองเชียงโสม ส่งสวยแก่เมืองฟ้าแดดเป็นประจำทุกปี

จากตำนานที่เป็นเรื่องเล่าขานสืบต่อกันมาหลายชั่วอายุคน อาจจะมีความคลาดเคลื่อนแต่ก็คงแฝงไว้ด้วยความจริงไว้บ้าง

ข้อมูลจาก http://th.wikipedia.org/

 
 
สาธุการบทความนี้ : 739 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 738 ครั้ง
 
 
  09 มิ.ย. 2552 เวลา 18:02:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   18) อุดรธานี  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่23) ชาวภูไทใน อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


การแต่งกายดั้งเดิมของชาวภูไทในอุดรธานี จะห่มผ้าสไบผ้าขาวม้า สวมเสื้อสีดำหรือครามไม่มีลวดลาย นุ่งซิ่นมัดหมี่ฝ้ายย้อมคราม

แต่ในปัจจุบันชาวภูไทในอุดรธานีการนุ่งเสื้อที่มีการตกแต่งแถบเสื้อ การทอผ้าแพรวา การนุ่งซิ่นมัดหมี่ที่เป็นผ้าไหม และการพันศีรษะด้วยผ้าแพรมน ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชาวภูไทในอ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์ในภายหลัง เนื่องจากมีพื้นที่ติดต่อกัน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 713 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 712 ครั้ง
 
 
  07 ก.ค. 2553 เวลา 07:41:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   57) ท้าวคันธนาม - นางคำกลอง  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่3) กู่คันธนาม จังหวัดร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
ภาพประกอบจากhttp://kunha.multiply.com/photos/album/6#1





นิทานนี้เกี่ยวข้องกับกู่ที่ร้อยเอ็ดแห่งนี้ด้วยครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 693 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 693 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2552 เวลา 18:39:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   66) ดอกไม้ ต้นไม้ เคยเห็นอยู่อิสานมาแต่กก แต่เค้า  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่80)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
เค้าบอกว่าใบหนาดมีกลิ่นการบูรกันแมลง

แต่สำหรับผี ผมไม่รู้ว่ากลัวเพราะอไรด้วยสิครับ ลองหาในเน็ทดูแล้วไม่เห็นมีใครกล่าวบ้างเลย

แต่เค้าบอกว่าขลังจริงๆนา.....อาจจะเป็นพืชที่เกิดมาเพื่อสิ่งนี้โดยเฉพาะละมั้งครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 677 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 677 ครั้ง
 
 
  15 ก.ค. 2553 เวลา 13:43:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   13) สกลนคร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ฟ้อนภูไทสกลนคร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 672 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 672 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 12:58:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่16)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
"พระเจดีย์หินทรายวัดป่ากุง" อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด  บุโรพุทโธ แห่งอีสาน












 
 
สาธุการบทความนี้ : 660 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 660 ครั้ง
 
 
  02 ก.พ. 2552 เวลา 15:25:19  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   5) นครราชสีมา  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 



 
 
สาธุการบทความนี้ : 658 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 658 ครั้ง
 
 
  11 ก.พ. 2552 เวลา 18:16:16  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) อุบลราชธานี  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


นี่มันผ้าซิ่นไทครั่ง ไทเวียง(จันทน์)นี่ครับ ไม่ใช่ผ้าอุบล





ผมก็มีสะสมไว้ 2ผืน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 656 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 653 ครั้ง
 
 
  10 ก.พ. 2552 เวลา 16:50:47  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1) ภาษาภูไท  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่86) ผ้าซิ่นจกทั้งตัวต่อหัวขิดและผ้าขาว      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ผ้าซิ่นจก ของชาวภูไท แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 649 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 649 ครั้ง
 
 
  24 ม.ค. 2553 เวลา 12:41:09  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   9) ยโสธร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่4) วัดมหาธาตุ อ.เมือง จ.ยโสธร      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


พระพุทธรูปศิลปะล้านช้างที่สมบูรณ์และสวยงามภายในอุโบสถ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 643 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 642 ครั้ง
 
 
  20 พ.ค. 2552 เวลา 13:37:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่23)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ฟ้อนบายศรีสู่ขวัญ ภูไท

 
 
สาธุการบทความนี้ : 620 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 619 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 12:44:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1) ภาษาภูไท  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่89) ผ้าสไบขิด ของชาวภูไท แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ผ้าสไบขิดไหม ชาวภูไท แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 595 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 595 ครั้ง
 
 
  24 ม.ค. 2553 เวลา 12:44:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   2) กาฬสินธุ์  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


ภูไท บ้านโคกโก่ง จ.กาฬสินธุ์ ทางฝั่งนี้เขาจะเรียกว่าเป็นภูไทน้อย ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 590 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 589 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2552 เวลา 12:15:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   24) ผาแดงนางไอ่  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่18) นางไอ่คำ บุตรสาวพญาขอม      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


นางไอ่ หรือนางไอ่คำ   

ตอนนี้กำลังวาดนางในนิทานอีสานไว้หลายนางอยู่ครับ

..........แต่ว่าตอนนี้ก็ยังวาดไม่เสร็จ

นางไอ่ก็ด้วยที่เห็นในภาพนี่ คือยังไม่เสร็จนะครับ

เอามาลงให้ชมแบบคร่าวๆกันไปก่อนนะครับ

...................................................


 
 
สาธุการบทความนี้ : 581 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 580 ครั้ง
 
 
  29 พ.ค. 2552 เวลา 15:03:05  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่77) วัดสระทอง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


รูปแบบของสถาปัตยกรรมของวิหารเป็นแบบพื้นบ้านอีสาน ผสมกับล้านช้างและไทย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 575 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 575 ครั้ง
 
 
  20 พ.ค. 2552 เวลา 13:28:09  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่56) สิมวัดจักรวาลภูมิพินิจ (วัดหนองหมื่นถ่าน) อ.อาจสามารถ จ.101      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


หมู่บ้านแห่งนี้ยังคงทอผ้ามัดหมี่และขิดใช้เอง จึงยังคงเห็นภาพแม่เฒ่านุ่งซิ่นมัดหมี่ต่อหัวซิ่นกันอยู่
(บ้านหนองเขื่อนช้าง จ.มหาสารคามก็เช่นกันที่ยังคงอนุรักษ์การนุ่งผ้าซิ่นแบบต่อหัวซิ่นและตีนซิ่น)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 565 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 565 ครั้ง
 
 
  20 พ.ค. 2552 เวลา 11:30:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   6) บุรีรัมย์  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง



      ตั้งอยู่บนเขาพนมรุ้ง บ้านตาเป็ก ตำบลตาเป็ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ สามารถเดินทางไป พนมรุ้ง
ได้ 2 เส้นทาง คือ
      1. ใช้เส้นทางสายบุรีรัมย์-นางรอง (ทางหลวงหมายเลข 218) ระยะทาง 50 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวง
หมายเลข 24(โชคชัย -เดชอุดม ช่วง นางรอง - ประโคนชัย)ไป 14 กิโลเมตร ถึงบ้านตะโก เลี้ยวขวาผ่านบ้านตาเป็กไปพนมรุ้งเป็นระยะทางอีก 12 กิโลเมตร
      2. ใช้เส้นทางสายบุรีรัมย์-ประโคนชัย ทางหลวงหมายเลข 219 เป็นระยะทาง 44 กิโลเมตร จากตัวอำเภอประโคนชัย
มีทางแยกไปพนมรุ้ง ระยะทางอีก 21 กิโลเมตร (เส้นทางนี้ผ่านทางแยกเข้าปราสาทเมืองต่ำด้วย)


      ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นเทวสถานในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย มีอายุการก่อสร้างและใช้เป็นเทวสถานต่อเนื่องกันมาหลายสมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 17 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7
แห่งอาณาจักรขอมหันมานับถือศาสนาลัทธิมหายาน เทวสถานแห่งนี้จึงคงจะได้รับการดัดแปลงเป็นพุทธศาสนาลัทธิมหายานในช่วงนั้นตัวโบราณสถาน ตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตร จากพื้นราบ คำว่า "พนมรุ้ง" หรือ
"วนํรุง" เป็นภาษาเขมรแปลว่า "ภูเขาใหญ่" ปราสาทพนมรุ้งหันไปทางทิศตะวันออก ประกอบด้วยอาคารและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่ตั้งเรียงรายขึ้นไปจากลาดเขาทางขึ้นจนถึงปรางค์ประธานบนยอดอันเปรียบเสมือนวิมานที่ประทับของพระศิวะบันไดทางขึ้นช่วงแรกทำเป็นตระพังสามชั้นผ่านขึ้นมาสู่พลับพลาชั้นแรก จากนั้นเป็นทางเดินซึ่งมีเสานางเรียงปักอยู่ที่ขอบทางทั้งสองข้างเป็นระยะๆ ถนนทางเดินนี้ ทอดไปสู่สะพานนาคราช ซึ่งเปรียบเสมือนจุดเชื่อมต่อระหว่างดินแดนแห่งมนุษย์และสรวงสวรรค์
ด้านข้างของทางเดินทางทิศเหนือมีพลับพลาสร้างด้วยศิลาแลง 1 หลังเรียกกันว่า โรงช้างเผือก สุดสะพานนาคราชเป็นบันไดทางขึ้นสู่ปราสาท ซึ่งทำเป็นชานพักเป็นระยะๆ รวม 5 ชั้นสุดบันไดเป็นชานชลาโล่งกว้าง ซึ่งมีทางนำไปสู่สะพานนาคราชหน้าประตูกลางของระเบียงคด อันเป็นเส้นทางหลักที่จะผ่านเข้าสู่ลานชั้นในของปราสาท และจากประตูนี้ยังมีสะพานนาคราชรับอยู่อีกช่วงหนึ่งก่อนถึงปรางค์ประธาน ปรางค์ประธาน หรือส่วนที่สำคัญที่สุด ตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของลานปราสาทชั้นใน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมณฑป คือห้องโถงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เชื่อมอยู่ทางด้านหน้าที่ส่วนประกอบของปรางค์ประธานตั้งแต่ฐานผนังด้านบนและด้านล่าง เสากรอบประตู เสาติดผนัง ทับหลัง หน้าบัน ซุ้มชั้นต่างๆ ตลอดจนกลีบขนุนปรางค์ล้วนสลักลวดลายประดับทั้งลวดลายดอกไม้ ใบไม้ ภาพฤาษี เทพประจำทิศ ศิวะนาฏราชที่ทับหลังและหน้าบันด้านหน้าปรางค์ประธาน ลักษณะของลวดลายและรายละเอียดอื่นๆ ช่วยให้กำหนดได้ว่าปรางค์ประธานพร้อมด้วยบันไดทางขึ้นและสะพานนาคราชสร้างขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 17

      ภายในลานชั้นในด้านตะวันตกเฉียงใต้ มีปรางค์ขนาดเล็ก 1 องค์ ไม่มีหลังคา จากหลักฐานทางศิลปกรรมที่ปรากฏ
เช่น ภาพสลักที่หน้าบัน ทับหลัง บอกให้ทราบได้ว่าปรางค์องค์นี้สร้างขึ้นก่อนปรางค์ประธาน มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 16 นอกจากนี้ยังมีฐานปรางค์ก่อด้วยอิฐซึ่งมีอายุเก่าลงไปอีก คือประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 อยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือขององค์ประธาน และที่มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าก่อด้วยศิลาแลง มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 ร่วมสมัยกันกับพลับพลาที่สร้างด้วยศิลาแลงข้างทางเดินที่เรียกว่า "โรงช้างเผือก"
      กรมศิลปากรได้ทำการซ่อมแซมและบูรณะปราสาทหินพนมรุ้ง โดยวิธีอนัสติโลซิส คือ รื้อของเดิมลงมาโดยทำรหัสไว้ จากนั้นทำฐานใหม่ให้แข็งแรง แล้วนำชิ้นส่วนที่รื้อรวมทั้งที่พังลงมากลับไปก่อใหม่ที่เดิม โดยใช้วิธีการสมัยใหม่ช่วย และเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ปีพุทธศักราชที่ 2531 ได้มีพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ 21พฤษภาคม พ.ศ. 2531 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธาน และปลายปีเดียวกัน ก็ได้รับทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์กลับคืนมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา ทำให้มีความงดงามและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จะมีงานนมัสการรอยพระพุทธบาทพนมรุ้ง จัดในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 ของทุกปี เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.30-16.30 น.
     อัตราค่าเข้าชม
     ชาวไทย        5 บาท
     ชาวต่างชาติ 20 บาท
      การเดินทางไปชมปราสาทหินพนมรุ้งในกรณีที่ท่านมิไดขับรถยนต์ไปเอง หรือขับไปแต่ไม่อยากขับขึ้นเขากลัวจะ
ไม่ปลอดภัย  เพราะไม่คุ้นเคยเส้นทาง(ขึ้นทางบ้านตาเป๊กทางลาดชันพอสมควร) ก็จอดรถไว้ด้านล่าง นั่งรถสองแถว
หรือรถบริการอื่นๆก็ได้(ขับเคลื่อน 4 ล้อ)  หรือถ้าใช้บริการของ  บริษัท  ขนส่ง จำกัด (กรุงเทพฯ - เขาพนมรุ้ง) ก็สะดวกดี
หรือจะจ้างเหมารถสองแถวที่อำเภอนางรองก็ได้ จะมีรถสองแถวรับจ้างขึ้นปราสาทพนมรุ้ง ราคาแล้วแต่จะตกลงกันได้
(คันละประมาณ 200-300 บาท) หรือติดต่อโดยตรงที่สำนักงานอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง โทร. (044) 631746

 
 
สาธุการบทความนี้ : 556 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 555 ครั้ง
 
 
  11 ก.พ. 2552 เวลา 18:14:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   10) ร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่78) วัดสระทอง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


คันทวยรูปนาค

 
 
สาธุการบทความนี้ : 553 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 553 ครั้ง
 
 
  20 พ.ค. 2552 เวลา 13:29:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   60) ตำนานเมืองท่าขอนยาง จ.มหาสารคาม และวังสามหมอ จ.อุดรธานี  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 
ยาแม่จึงได้ใช้มนต์คาถาแหวกน้ำให้เป็นช่องลงไปตรวจดูจนทั่วทั้งวัง พบจระเข้มากมายแต่ไม่เห็นบักเฮ้า เมื่อยาแม่ตรวจดูโดยละเอียดอีกครั้งหนึ่งจึงได้พบถ้ำในระดับความลึก 30 เมตร อยู่ทางด้านใต้ของวัง ได้พบบักเฮ้าอยู่ในลักษณะอ้าปากปิดปากถ้ำจึงคิดได้ว่าหมอบุญกับหมอพรหม คงหลงกลเดินเข้าไปในปากบักเฮ้าโดยนึกว่าเป็นปากถ้ำ และคงถูกบักเฮ้ากลืนกินในลักษณะนี้  เมื่อแน่ใจดังนั้นแล้วยาแม่จึงได้ขึ้นมาจากน้ำ โดยใช้เวลาอยู่ในน้ำตั้งแต่เช้าจนถึงเที่ยง การทำงานในครั้งนี้ยาแม่ได้รับความเหน็ดเหนื่อยมาก เนื่องจากมีอายุมากแล้วนั่นเอง จึงขอพักผ่อนชักชั่วคราว ในขณะพักผ่อนยาแม่ได้ปรึกษาหารือกับขุนบวร และขุนประจวบ

โดยยาแม่ได้บอกว่าได้เห็นบักเฮ้าแล้ว การที่จะจับมันนี้นไม่ยาก  แต่เชือกที่จะใช้ผูกมัดนั้นเท่าที่เรามีอยู่ไม่สามารถที่จะมัดมันได้ เพราะเส้นเล็กเกินไป จึงควรให้ไพร่พลทั้งหลายออกไปหาตัดหวายเส้นขนาดใหญ่ มาให้มากที่สุด  แล้วมัดเป็นเกลียวให้ได้ขนาดเส้นละเท่าแขนคน จำนวน 3 เส้น แต่ละเส้นให้ยาว 100 ศอก เป็นอย่างน้อย  บรรดาไพร่พลทั้งหลาย ได้พากันไปตัดหวายในดงแห่งหนึ่ง  ปรากฏว่ามีหวายขนาดใหญ่มากมายตัดเคลือเดียวก็ได้หวายจนเหลือเฟือ  ดงแห่งนี้ จึงได้ชื่อว่า" ดงหลุบหวาย " จนกระทั่งปัจจุบัน( อยู่ทางทิศตะวันออกบ้านหนองกุงทับม้า ตั้งแต่บริเวณลำพันชาดฝั่ง จ.อุดรธานี  ขึ้นไปตอนบน)

เมื่อได้หวายแล้วไพร่พลจึงได้ช่วยกันฝั้นเป็นเกลียวตามคำสั่งของยาแม่ตลอดคืน จนเสร็จเรียบร้อย  รุ่งเช้ายาแม่ได้เตรียมลงน้ำเพื่อจับบักเฮ้า โดยนำหวายทั้ง 3 เส้น มาต่อกันผูกกึ่งกลางของเหล็กแหลม ที่แหลมเป็นฉมวก ทั้งสองด้าน มีเหล็กค้ำยันปากจระเข้อยู่ในตัว ป้องกันไม่ให้งับลงมาได้ ปลายเชือกหวายข้างหนึ่งนำไปผูกไว้กับโคนต้นประดู่ ริมฝั่งด้านดงสวน( ท้องที่ อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์ )  ต้นประดู่ต้นนี้มีขนาดใหญ่ ขนาด 2 คนโอบและถูกพวกค้าไม้ตัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494  ตอไม้ถูกไฟป่าเผาหมดแล้ว  

เมื่อทุกอย่างเป็นที่เรียบร้อยแล้วยาแม่จึงได้ร่ายมนต์คาถาแหวกน้ำลงไปเหมือนวันก่อน บักเฮ้ายังเตรียมพร้อมอยู่ในลักษณะเดิม ยาแม่ได้ถือเหล็กแหลมทางตั้งเดินตรงเข้าไปในปากบักเฮ้า ฝ่ายบักเฮ้าเมื่อเห็นคนเดินเข้ามาในปากลึกพอประมาณ  จึงได้งับปากลงมาอย่างแรง เสียงดังก้องทั่ววังน้ำ  ด้วยความแรงของการงับ  ทำให้เหล็กแหลมเสียบประกบปาก ทั้งบนและล่างจนทะลุไม่สามารถถอนหรืองับลงมาได้อีก ยาแม่เห็นได้ที จึงรีบออกจากปากแล้วขึ้นฝั่งพร้อมสั่งกำลังพลทั้งหมด  ให้ช่วยกันลากดึง  

ฝ่ายบักเฮ้า เมื่อถูกเหล็กประกบปากจนทะลุ ได้พยายามดิ้นรนจนสุดดำลัง เพื่อให้ตัวเองเป็นอิสรภาพ   แรงดิ้นทำให้ปากถ้ำพังทลาย เกิดน้ำปั่นป่วนทั้งวัง มีเสียงเสทือนเลือนลั่นไปทั่วป่าดงแถบนั้น แรงจากความสั่นเสทือนดังกล่าวจึงได้ตั้งชื่อดงแห่งนี้ว่า "ดงฝั่งเฟือน" ( เฟือนมาจากคำว่า เสทือน )อยู่ทางด้านใต้ดงหลุบหวาย ปัจจุบันคนเรียกเพี้ยนไปเป็นดงหลุบพังเฟือน

บักเฮ้าดิ้นรนอยู่ถึงหนึ่งวันหนึ่งคืนเต็มๆ รู้สึกอ่อนระโหยโรยแรง ฝ่ายคนดึงก็ไม่สามารถลากขึ้นมาได้จึงได้ปล่อยไว้จนกระทั่งถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ จึงได้พากันออกแรงดึงอีกครั้งหนึ่งจนสามารถดึงบักเฮ้าขึ้นมาจากน้ำได้สำเร็จ เมื่อนำขึ้นจากน้ำบักเฮ้ามีอาการปลงตก น้ำตาไหลตลอดเวลา พร้อมทั้งคิดว่า ถ้าหากคนเหล่านี้รู้สึกสักนิดว่า ที่เรากลืนนางคำบางลงไปในท้องนั้น เราไม่ได้มีเจตนาแต่เราทำไปด้วยความกลัวว่านางจะได้รับอันตรายจาการกระทำของบักนนท์ต่างหาก ถึงอย่างไรเราก็คงจะหนีความตายไปไม่พ้น ยอมให้เขาฆ่าเสียดีกว่า คิดได้ดังนั้นจึงอยู่ในลักษณะนิ่งเฉย บรรดาไพร่พลทั้งหลายจึงพากันเข้ารุมฆ่าบักเฮ้าเป็นการใหญ่ ได้ฆ้อน ขวาน เหล็กแหลม และอาวุธอีกมากมาย ตีแทง ฟัน ตั้งแต่หัวตลอดหาง บักเฮ้าได้รับความเจ็บปวดทมานมากแต่ไม่ยอมดิ้นให้คนเหล่านั้นเห็นเป็นอันขาด พร้อมกับตั้งใจไว้ว่า เมื่อเราตายไปเราจะขอเป็นผีเฝ้าวังน้ำแห่งนี้ตลอดไป  กว่าที่จะฆ่าบักเฮ้าได้สำเร็จทุกคนเหนื่อยหอบไปตามๆกัน  

หลังจากนั้นพวกที่ชำแหละได้ทำการตัดคอบักเฮ้าออกไว้ต่างหาก แล้วผ่าท้องดูเห็นกระดูกของหมอบุญกับหมอพรหมอยู่ครบทุกชิ้นส่วน นางคำบางนั้นคงเห็นเฉพาะกระโหลกศีรษะและเส้นผมเท่านั้น จึงได้นำกระดูกของคนทั้งสามชำระล้างที่วังแห่งนี้จนสะอาดเรียบร้อยแล้วใช้ผ้าขาวห่อทั้งสามห่อ ออกเดินทางกลับเมืองท่าขอนยาง พร้อมหามหัวบักเฮ้าลงไปด้วย  ถึงแม้ว่าบักเฮ้าจะตายไปนานแล้วก้ตาม  แต่วิญญาณบักเฮ้ายังวนเวียนเฝ้ารักษาวังน้ำแห่งนี้ บางครั้งผู้ที่บุกป่าฝ่าดงเข้าไปอยากจะเห็นจระเข้  เมื่อไปถึงฝั่งได้พูดขอให้เจ้าพ่อปรากฎตัวให้ดู ก็จะเห็นเจ้าพ่อขนาดใหญ่ไม่น้อย  กว่า 3  ตัว  ลอยให้เห็นทันที  เพราะความเฮี้ยนดังกล่าว  คนทั้งหลายจึงได้เรียกวังน้ำแห่งนี้ว่า" วังสามหมอ"  มาตราบจนกระทั่งทุกวันนี้

               เพราะความศักดิ์สิทธิ์ของวังสามหมอ จึงไม่มีบุคคลผู้ใดกล้าพูดดูหมิ่น และไม่กล้าลงไปจับสัตว์น้ำ จึงได้ทำให้น้ำในวังนี้ใสสะอาดตลอดฤดูแล้ง เมื่อทางอำเภอมีงานเกี่ยวกับพิธีต่าง ๆ มักจะนำน้ำจากวังสามหมอ มาให้พระคุณเจ้าทำเป็นน้ำมนต์ประพรมให้แก่ชาวบ้าน และข้าราชการทำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขโดยทั่วหน้ากัน.

 
 
สาธุการบทความนี้ : 552 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 552 ครั้ง
 
 
  08 ต.ค. 2552 เวลา 12:04:19  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   36) ตำนานผาแดงนางไอ่ (เวอร์ชั่นละเอียด)  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772890
รวม: 17773585 สาธุการ

 


นางไอ่คำ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 551 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 551 ครั้ง
 
 
  09 มิ.ย. 2552 เวลา 17:50:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2 3 4

   

Creative Commons License
ตำนานผาแดงนางไอ่ (เวอร์ชั่นละเอียด) --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ