ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
บ้านใกล้ป่าได้อยู่เฮือนเพ บ้านใกล้เซบ่ได้กินปลาแดก แปลว่า บ้านใกล้ป่าไม้ แต่เรือนผุพัง บ้านใกล้แม่น้ำ แต่ไม่มีปลาร้ากิน หมายถึง มีของดีมีค่า แต่ไม่รู้คุณค่า ไม่นำมาใช้ประโยชน์


  ค้นหาสาธุการ ปลาร้านอกไห  

หน้า: 1  
  โพสต์โดย   8) สะดืออีสานคืออะไร และอยู่ตรงไหน???  
  หนั่น    คห.ที่17) สะดือ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์ใหม่ไร้วรยุทธ์

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 08 ก.ย. 2553
รวมโพสต์ : 3
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 7640
รวม: 7640 สาธุการ

 
สะืดือบก คือจุดต่ำสุด ณ แผ่นดินนั้น สะดือทะเลคือจุดที่ลึกท่ีสุดแห่งทะเลนั้น อาจจะอยู่หรือไม่อยู่
ที่จุดศูนย์กลาง ณ แผ่นดินหรือท้องทะเลก็ได้ สะดืออีสานจุดลึกสุดอาจอยู่ที่ บึงแก่นนครบ้านข่อย
กะได้ แต่ที่แน่นอนจุดศูนย์กลางอีสานอยู่ที่ โกสุม บึงกุย จะดีเนาะติดต่อทหารเรือไปดิ่งดูทีว่าเป็นจุด
ที่ต่ำท่ีสุดของภาคอีสานบ่อ.

 
 
สาธุการบทความนี้ : 275 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 275 ครั้ง
 
 
  08 ก.ย. 2553 เวลา 10:49:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   8) สะดืออีสานคืออะไร และอยู่ตรงไหน???  
  หนั่น    คห.ที่15) สะดืออีสาน สงสัยวา สะืดือ กับจุดศูนย์กลางน่าจะเป็นคนละความหมายเด้อ สะดือ คือจุดต่ำสุดหรือลึกสุด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์ใหม่ไร้วรยุทธ์

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 08 ก.ย. 2553
รวมโพสต์ : 3
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 7640
รวม: 7640 สาธุการ

 
คุณอีสานจุฬาฯ:
ด้วยความสงสัยและอยากจะทำให้ความจริงข้อนี้กระจ่าง ทั้งยังได้รับการกระตุ้นจากอธิการบดี สถาบันราชภัฏมหาสารคาม(รศ.ดร.สุวกิจ ศรีปัดถา) ผู้เขียนจึงได้นำเรื่องนี้ ไปหารือกับสภาวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งมีเครือข่ายและสามารถขอความร่วมมือจากหลายฝ่ายได้สะดวก ผศ.ไพฑูรย์ เจริญพันธุวงศ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด และคณะกรรมการเห็นด้วย จึงได้เริ่มดำเนินการแต่งตั้ง คณะกรรมการหาจุดศูนย์กลางภาคอีสานทางภูมิศาสตร์ หน่วยงานที่ให้แนวคิดและคำแนะนำมีทั้ง ผศ.บุญเลิศ สดสุชาติ ผศ.ไพบูลย์ หาญไชย จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์รณสิทธิ์ แสงสุวอ จากสถาบันราชภัฏมหาสารคาม โดยเฉพาะผังเมืองจังหวัด คุณประยูร หัตถศาสตร์ และคุณเนาวรัตน์ เคารพ จากการปรึกษาหารือ และใช้วิธีการต่าง ๆ แล้วก็เห็นว่าศูนย์กลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในเขตจังหวัดมหาสารคาม แต่เพื่อให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิชา และได้รับการยอมรับ โดยทั่วไป คณะกรรมการเห็นว่า น่าจะให้กรมแผนที่ทหาร ซึ่งมีความรู้ความชำนาญ และมีเครื่องมือที่ได้มาตราฐาน ช่วยอนุเคราะห์ดำเนินการตามหลักวิชาการแผนที่ จนกระทั่งวันที่ 2 ธันวาคม 2543 กรมแผนที่ ทหารกองบัญชาการทหารสูงสุด จึงได้มีหนังสือที่ กห 0313/3330 มาถึงประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม ความว่า

... ตามที่สภาวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม ขอความอนุเคราะห์ให้กำหนดจุดศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ของภาคคะวันออกเฉียงเหนือ โดยระบุพิกัดและวิธีการดำเนินการโดยสังเขป กรมแผนที่ทหารได้ ทำการ ศึกษาและหาวิธีการกำหนดจุดศูนย์กลางดังกล่าว ดังนี้

1. วิธีการที่เหมาะสมและเป็นวิธีที่น่าเชื่อถือที่สุดคือ หลักการหาจุดศูนย์กลาง (Centroid) ของพื้นที่ โดยการสร้างรูปหลายเหลี่ยม (Polygon) ที่ครอบคลุมพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้เหมาะสมที่สุดแล้วทำการคำนวณหาจุดกึ่งกลางจากพิกัดจุดยอดมุมของรูปหลายเหลี่ยม (Polygon) ระบบพิกัดที่ใช้คำนวณคือ Uinversal Transverse Mercator Grid (UTM), Geodetic Datum คือ Indian 1975 และ Ellipsoid คือ Everest (Indian 1830)
2. ผลการปฏิบัติพบว่า จุดศูนย์กลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ที่พอกัด Northing 1791706.14m. Easting 294091.9808m. หรือ Latitude 16๐ 11’ 54”.3209 N Longtitude 103๐ 04’ 24” .9818 E จุดนี้อยู่ด้านทิศใต้ของอำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม…

จึงเป็นที่น่าเชื่อถือ “โดยสุจริต” ว่า ศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ บริเวณใกล้บึงกูย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคามอย่างแน่นอน
นับจากนี้ไป คงต้องมีงานใหญ่รออยู่ข้างหน้าว่า เมื่อพบศักยภาพของมหาสารคามด้านนี้แล้ว “ผู้คนบ้านนี้ เมืองนี้” จะทำอะไรต่อไป เพื่อให้สมกับคำว่า เมืองนี้คือ “สะดือ” อีสาน

ที่มา : สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฎมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 264 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 264 ครั้ง
 
 
  08 ก.ย. 2553 เวลา 10:25:38  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   8) สะดืออีสานคืออะไร และอยู่ตรงไหน???  
  หนั่น    คห.ที่16)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์ใหม่ไร้วรยุทธ์

ภูมิลำเนา : ขอนแก่น
เข้าร่วม : 08 ก.ย. 2553
รวมโพสต์ : 3
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 7640
รวม: 7640 สาธุการ

 
คุณอีสานจุฬาฯ:
ด้วยความสงสัยและอยากจะทำให้ความจริงข้อนี้กระจ่าง ทั้งยังได้รับการกระตุ้นจากอธิการบดี สถาบันราชภัฏมหาสารคาม(รศ.ดร.สุวกิจ ศรีปัดถา) ผู้เขียนจึงได้นำเรื่องนี้ ไปหารือกับสภาวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งมีเครือข่ายและสามารถขอความร่วมมือจากหลายฝ่ายได้สะดวก ผศ.ไพฑูรย์ เจริญพันธุวงศ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด และคณะกรรมการเห็นด้วย จึงได้เริ่มดำเนินการแต่งตั้ง คณะกรรมการหาจุดศูนย์กลางภาคอีสานทางภูมิศาสตร์ หน่วยงานที่ให้แนวคิดและคำแนะนำมีทั้ง ผศ.บุญเลิศ สดสุชาติ ผศ.ไพบูลย์ หาญไชย จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์รณสิทธิ์ แสงสุวอ จากสถาบันราชภัฏมหาสารคาม โดยเฉพาะผังเมืองจังหวัด คุณประยูร หัตถศาสตร์ และคุณเนาวรัตน์ เคารพ จากการปรึกษาหารือ และใช้วิธีการต่าง ๆ แล้วก็เห็นว่าศูนย์กลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในเขตจังหวัดมหาสารคาม แต่เพื่อให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิชา และได้รับการยอมรับ โดยทั่วไป คณะกรรมการเห็นว่า น่าจะให้กรมแผนที่ทหาร ซึ่งมีความรู้ความชำนาญ และมีเครื่องมือที่ได้มาตราฐาน ช่วยอนุเคราะห์ดำเนินการตามหลักวิชาการแผนที่ จนกระทั่งวันที่ 2 ธันวาคม 2543 กรมแผนที่ ทหารกองบัญชาการทหารสูงสุด จึงได้มีหนังสือที่ กห 0313/3330 มาถึงประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม ความว่า

... ตามที่สภาวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม ขอความอนุเคราะห์ให้กำหนดจุดศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ของภาคคะวันออกเฉียงเหนือ โดยระบุพิกัดและวิธีการดำเนินการโดยสังเขป กรมแผนที่ทหารได้ ทำการ ศึกษาและหาวิธีการกำหนดจุดศูนย์กลางดังกล่าว ดังนี้

1. วิธีการที่เหมาะสมและเป็นวิธีที่น่าเชื่อถือที่สุดคือ หลักการหาจุดศูนย์กลาง (Centroid) ของพื้นที่ โดยการสร้างรูปหลายเหลี่ยม (Polygon) ที่ครอบคลุมพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้เหมาะสมที่สุดแล้วทำการคำนวณหาจุดกึ่งกลางจากพิกัดจุดยอดมุมของรูปหลายเหลี่ยม (Polygon) ระบบพิกัดที่ใช้คำนวณคือ Uinversal Transverse Mercator Grid (UTM), Geodetic Datum คือ Indian 1975 และ Ellipsoid คือ Everest (Indian 1830)
2. ผลการปฏิบัติพบว่า จุดศูนย์กลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ที่พอกัด Northing 1791706.14m. Easting 294091.9808m. หรือ Latitude 16๐ 11’ 54”.3209 N Longtitude 103๐ 04’ 24” .9818 E จุดนี้อยู่ด้านทิศใต้ของอำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม…

จึงเป็นที่น่าเชื่อถือ “โดยสุจริต” ว่า ศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ บริเวณใกล้บึงกูย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคามอย่างแน่นอน
นับจากนี้ไป คงต้องมีงานใหญ่รออยู่ข้างหน้าว่า เมื่อพบศักยภาพของมหาสารคามด้านนี้แล้ว “ผู้คนบ้านนี้ เมืองนี้” จะทำอะไรต่อไป เพื่อให้สมกับคำว่า เมืองนี้คือ “สะดือ” อีสาน

ที่มา : สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฎมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 225 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 225 ครั้ง
 
 
  08 ก.ย. 2553 เวลา 10:30:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1

   

Creative Commons License
สะดืออีสานคืออะไร และอยู่ตรงไหน??? --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ