ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
มีเกวียนบ่มีงัวพร้อมสิเอาหยังมาแก่ เกวียนบ่มีไม้ค้ำหัวสิจ้ำใส่ดิน แปลว่า มีเกวียน แต่ไม่มีวัวด้วย จะใช้อะไรลาก หากเกวียนไม่มีไม้ค้ำ หัวเกวียนจะคะมำลงพื้น หมายถึง กิจบางอย่าง ไม่สามารถทำสำเร็จได้ด้วยคนคนเดียว พึงรู้รักสามัคคี


  ค้นหาสาธุการ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1 2 3  
  โพสต์โดย   179) พิธี(สู่ขวัญ)สูตรขวัญไทญ้อเมืองสกลนคร,ประเพณีลงข่วง,ฟ้อนไทภูวานากะแด้ง(ฟ้อนปูเมืองสกลนคร)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) พิธี(สู่ขวัญ)สูตรขวัญไทญ้อเมืองสกลนคร,ประเพณีลงข่วง,ฟ้อนไทภูวานากะแด้ง(ฟ้อนปูเมืองสกลนคร)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
วิดีโอนี้สืบต่อเนื่องมาจากกระทู้ "ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)" ซึ้งอยู่ในชุดเดียวกันครับ

พิธี(สู่ขวัญ)สูตรขวัญไทญ้อเมืองสกลนคร




ประเพณีลงข่วง




ฟ้อนไทภูวานากะแด้ง(ฟ้อนปูเมืองสกลนคร)



*ยังมีวิดีโออีกหลายชุดที่ผมอยากจะเอามาให้ทุกท่านได้รับชม ซึ้งเป็นมูลมังของบ้านผม "สกลนคร"

 
 
สาธุการบทความนี้ : 523 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 520 ครั้ง
 
 
  20 มี.ค. 2554 เวลา 10:58:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณบ่าวย้อสกลนคร:
ผมจะรอติดตามนะครับ

    นอกจากนี้ยังมีวิดีโออื่นๆอีกครับ พิธี(สู่ขวัญ)สูตรขวัญไทญ้อเมืองสกลนคร,ประเพณีลงข่วง,ฟ้อนไทภูวานากะแด้ง(ฟ้อนปูเมืองสกลนคร) >>> http://www.isan.clubs.chula.ac.th/webboard/index.php?transaction=post_view.php&room_no=20&id_main=1734&star=0#top

 
 
สาธุการบทความนี้ : 464 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 464 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2554 เวลา 07:09:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1002) (เอามาให้ดูครับ) การแสดงชุด "ผู้บ่าวปุ่ยลุ่ย ฮักสาวเปิ่นเวิ่น"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) (เอามาให้ดูครับ) การแสดงชุด "ผู้บ่าวปุ่ยลุ่ย ฮักสาวเปิ่นเวิ่น"      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 



         การแสดงชุด "ผู้บ่าวปุ้้ยลุ่ย ฮักสาวเปิ่นเวิ่น" เป็นผลงานการแสดงของ นักศึกษา ศศบ.481(4/14) คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

        การแสดงชุดนี้ได้นำท่ารำแม่บทอีสานทั้ง 48 ท่า  และท่ารำมวยโบรา
ณที่เลือกมาใช้อีก  3  ท่า ในการรังสรรค์การแสดงชุด  "ผู้บ่าวปุ้ยลุ่ย ฮักสาวเปิ่นเวิ่น"

จาก...golf สกลราชวิทยานุกูล 2553

 
 
สาธุการบทความนี้ : 418 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 418 ครั้ง
 
 
  04 ก.ย. 2553 เวลา 09:42:51  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   144) ลายภูไทสามัคคี แบบพิณแคน ซอ โหวด  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:
อยากให้มีจัดการประกวดวงดนตรีแบบนี้ ทำวงโปงลางมานานชักจะเบื่อแล้ว

    สบายหูมากเลยพี่โอ๊ต  ฟังทีไรมันรู้สึกผ่อนคลายมาก  มันต่างจากที่ดูการประกวดโปงลางมาก  ก็เห็นๆอยู่อะนะ 55^^"  

   ฟังทีไรรู้สึกเย็นขึ้น  อารมดีขึ้น  เป็นธรรมชาติมากๆ  ชอบแบบนี้มากกว่า แข่งแบบวงโปงลางกันอย่างเมามันส์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 403 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 403 ครั้ง
 
 
  18 มี.ค. 2554 เวลา 23:54:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1151) ฟ้อนกินรีเกียงคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณสะเลเต:
http://www.youtube.com/watch?v=7ZTq9cOJplU

    

     ฟ้อนกินรีเกียงคำ  โดย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การแสดงชุดนี้บรรจุท่ารำโดยอาจารย์กรกฏ(พิษณุ) เข็มพิลา ประธานหลักสูตรสาขานาฏศิลป์และการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 393 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 393 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2554 เวลา 22:52:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   943) มีผลงานมาให้ชม "ระบำนาฏนาราชบูชาพระธาตุพนม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณปังคุง:
ดูมั่ว ๆ ชอบกล

อันนี้ก็แล้วแต่คนมองเนาะ

นาคเจ็ดตนนี่แม่นนาคโตผู้หื้อนาคโตแม่ครับ  ผมว่าบ่แม่นโตแม่เด๊

ผมว่าชุดการแสดงมันมั่ว ๆ ยังไงไม่รู้  แต่ดนตรีก็มีความน่าสนใจอยู่นะครับ  ตอนดนตรีขึ้นก็เพราะดี  แต่ตรงท่อนจังหวะแขกผมว่าไม่เข้าซะแล้ว

พูดถึงนาคน้ำโขงแล้วใช้ท่าอินเดียมันมีอะไรเกี่ยวข้องกันรึเปล่าครับ  ...

    

นี้เป็นการแสดงเบิกโรง ละครพันทางคับ   ถ้าไม่มีความแปลก  ไม่มีความร่วมสมัยก็คงไม่ใช่การแสดงเบิกโรงละครพันทางหรอกคับ   เพราะละครพันทางเป็นละครที่ผสมผสานระหว่างหลายเชื้อชาติมารวมกัน   นี้ก็ทำดีที่สุดแล้ว  แล้วก็ไม่มีใครทำ   ขอบคุณครับ ...:D

 
 
สาธุการบทความนี้ : 383 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 383 ครั้ง
 
 
  21 ก.ค. 2553 เวลา 00:15:13  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   179) พิธี(สู่ขวัญ)สูตรขวัญไทญ้อเมืองสกลนคร,ประเพณีลงข่วง,ฟ้อนไทภูวานากะแด้ง(ฟ้อนปูเมืองสกลนคร)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณหม่อน:
- ขอบคุณล่วงหน้าครับ น่าชมทุกรายการแสดงมากๆเลยครับ

- สมบัติของแผ่นดินคุณค่าทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย ที่เราต้องช่วยกันรัก
  หวงแหน ภาคภูมิใจในสมบัติของบรรพชนไทย......ครูหม่อน

    ครับผ๋ม  ขอขอบคุณครูหม่อนและทุกๆคนมากๆครับ  ที่ชื่นชมและเชิดชูสิ่งเก่าๆเหล่านี้

 
 
สาธุการบทความนี้ : 364 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 364 ครั้ง
 
 
  27 มี.ค. 2554 เวลา 12:08:38  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   216) โครงการชิมลางบัณฑิตครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อ วิถีลำฟ้อน ออนซอนเผ่าอีสาน  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) โครงการชิมลางบัณฑิตครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อ วิถีลำฟ้อน ออนซอนเผ่าอีสาน      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 



     ฟ้อนบ่าวภูไทเลี้ยงควาย



  การแสดงชุดที่ ๑  ฟ้อนบ่าวภูไทเลี้ยงควาย

ผู้สร้างสรรค์ผลงาน

นายอรรถพงษ์   วงค์งาม
นายวีระชน   พรหมสะวัน
นายเทิดทูล   จำบัวขาว
นางสาวพิมประภา   ทวีโชติ
นางสาวพฤกษชาติ   เจริญสุข
นางสาวอมรรัตน์  แก้วกัญญา
อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก  อาจารย์ไพจิต  บุดดา
                              อาจารย์ศราวุธ  จำรัส                                                                                                                          
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม   นายวัลลภ  ชมภูมิ  

แนวความคิด

            สมัยก่อนชาวนาไทย ใช้ควายในการทำนา คนกับควายจึงมีความสัมพันธ์กันทั้งในการดำเนินชีวิต พฤติกรรมและสติปัญญา ควายถือว่าเป็นสัตว์ที่มีบุญคุณและได้รับการยอมรับเป็นอย่างสูงในสมัยโบราณ ควายเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใกล้ชิดกับการเกษตรกรรมของคนอีสานมากที่สุด  เพราะชาวบ้านจะนิยมเลี้ยงควายเพื่อใช้เป็นแรงงานและประโยชน์ต่างๆ  เช่น  การทำนา  การค้า  เป็นยานพาหนะ  และเป็นเพื่อนคู่ใจ
จากการศึกษาวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวภูไทบ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นลักษณะสังคมแบบชาวนา ที่มีวิถีการดำเนินชีวิตแบบเลี้ยงตนเอง  
"ควายหรือทางการเรียกว่ากระบือ เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ"

ดังนั้นผู้สร้างสรรค์ผลงานจึงได้เล็งเห็น ความสำคัญและความสำคัญของคนกับควายจึงทำให้เกิดแรงบันดาลใจ  นำเสนอการใช้ชีวิตของคนกับควายเพื่อสะท้อนค่านิยมของคนในสมัยปัจจุบันกับคนสมัยก่อน  ดังนั้นทางผู้สร้างสรรค์ผลงานจึงอยากถ่ายทอดสิ่งที่กำลังจะสูญหายและตระหนักถึงความสำคัญของควาย จึงเกิดผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ชุด..ฟ้อนบ่าวภูไทเลี้ยงควาย



     ฟ้อนสาวญ้อขุดปู



  การแสดงชุดที่ ๒  ฟ้อนสาวญ้อขุดปู

ผู้สร้างสรรค์ผลงาน

นายฤทธิพร   สอดโสม
นางสาวธิดารัตน์   สายพฤกษ์
นางสาวมัชฌิมา   เพียรชนะ
นางสาวเดือนฉวี   สุขใส
นางสาวศิวพร   กองกูล

อาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ณัฐปกรณ์   อภิมติรัตน์
                           อาจารย์อาทิตย์  คำหงส์สา
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม อาจารย์บวรเดช   ประหุน

แนวความคิด

            จากการศึกษาวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไทญ้อ บ้านหนองขอน ตำบลคันธารราษฎร์ อำเภอกันทรชัย จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นลักษณะสังคมแบบชาวนาที่มีวิถีการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย อาศัยอาหารการกินที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลเป็นสำคัญ โดยเฉพาะในช่วงหน้าแล้งระยะหลังการเก็บเกี่ยวข้าวแล้วเสร็จนี้ ชาวบ้านจะนิยมออกไปหาขุดปูนาในทุ่งนา เพราะปูนาในช่วงหน้าแล้งนี้จะเป็นปูนาที่อร่อยที่สุดเพราะมีมันปูมาก จึงเหมาะที่จะนำไปประกอบอาหารต่างๆ  เช่น อ่อมปู หลนปู  และส่วนที่เหลือก็จะนำไปดองเค็มเพื่อจะเก็บไว้กินเป็นปูดองใส่ส้มตำ ดั้งนั้นปูนาจึงเป็นอาหารของท้องถิ่นที่หาได้ง่ายตามฤดูกาล
ปูนานั้นจะขุดรูอาศัยอยู่ตามทุ่งนา คันนา บริเวณชายคลอง คันคูต่าง ๆ ซึ่งรูปูส่วนใหญ่จะมีความลึกประมาณ 1 เมตร จะเป็นแนวเอียง 30-60 องศากับแนวระดับพื้นดิน ดังนั้นวิธีการหาปูนาจึงมีลักษณะพิเศษที่ต้องใช้เสียมขุดลงไป ถึงจะเจอตัวปู เมื่อเจอตัวปูแล้วก็จะใช้ไม้ขอ หรือ ไม้เบ็ดเพื่อใช้สำหรับการแหย่หาปู หรือเกี่ยวตัวปูขึ้นจากรู (ไม้ขอมีความยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ปลายไม้จะมีเบ็ดมัดไว้ บางคนเรียกไม้เบ็ด) และใช้ข้องเอาไว้ใส่ตัวปู
   ผู้สร้างสรรค์ผลงานจึงเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏยศิลป์พื้นเมือง ชุดฟ้อนสาวญ้อลงท่งขุดปู โดยนำเสนอขั้นตอนวิธีการหาปูของกลุ่มชาติพันธุ์ไทญ้อ  บ้านหนองขอน อำเภอกันทรวิชัย  จังหวัดมหาสารคาม




     เซิ้งไทกะเลิงป้องหมู



  การแสดงชุดที่ ๓  เซิ้งไทกะเลิงป้องหมู

ผู้สร้างสรรค์ผลงาน

นายวิชชากร โคจร
นายศุภวัฒน์ นามปัญญา
นางสาววิภาวดี ชวดทอง  
นางสาวปาลิตา  พรมพินิจ  

อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก  อาจารย์ฉัตรฤดี   ก้านภูเขียว
                            อาจารย์รักบรรชา   พิมพระจันทร์

แนวความคิด
  
            จากการศึกษาประวัติชนเผ่ากะเลิงบ้านกุดแฮด  อำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร พบว่า ชนเผ่าที่อพมาจาก  ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงมีวิถีชีวิตการเป็นอยู่แบบเรียบง่าย   มีการทำมาหากินและใช้ชีวิตตามเทือกเขาภูพาน มีการหาของป่าและสัตว์ป่า โดยเฉพาะการล่าหมูป่าซึ่งเป็นสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ตามเทือกเขาภูพาน ซึ่งชาวกะเลิงมักจะเข้าป่าเพื่อไปออกล่าหมูป่า เพื่อนำมาเป็นอาหารบริโภคในชุมชน เนื่องจากหมูป่าเป็นสัตว์ที่หากินเองตามธรรมชาติ ชาวบ้านจึงคิดค้นกลวิธีการจับหมูป่าตามแบบภูมิปัญญาของชนเผ่ากะเลิง โดยมีอุปกรณ์ที่ใช้จับหมูป่า คือ "น่าง"  หรือ "ตาข่าย" ที่มีลักษณะเป็นเชือกสานต่อกันเป็นตาข่ายจนได้ความยาวตามต้องการ ผูกกับท่อนไม้ไว้ทั้งสองข้าง ใช้กางไว้บริเวณที่หมูวิ่งผ่าน เมื่อหมูวิ่งเข้าชนไปบริเวณตาข่ายจะทำให้ไม้ทั้งสองท่อนล้มลง จากนั้นชาวบ้านจะนำหมูที่ได้จากการล่า คอนใส่ไม้นำกลับไปในหมู่บ้านและแจกจ่ายให้คนในหมู่บ้านได้ทำเป็นอาหาร

ดังนั้นผู้สร้างสรรค์ผลงานจึงเกิดแรงบันดาลใจ ในการใช้ น่างและหอกในการดักจับหมูป่า และวิธีการเข้าป่า เพื่อไปล่าหมูป่า




      ฟ้อนสาวไทพวนเอ็ดปลาแดะ



  การแสดงชุดที่ ๔  ฟ้อนสาวไทพวนเอ็ดปลาแดะ

ผู้สร้างสรรค์ผลงาน  

นางสาวธิดารัตน์  โคตรชมภู
นางสาวกมลทิพย์  สิทธิโห
นายสมศักดิ์   ชัยฤาชา
นายวุฒิพงษ์  พิทักษ์โยธา
นายอภิชาติ  ขันบา

อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก  นายธวัชชัย พินิจมนตรี
                              นายวีรยุทธ สีคุณหลิ่ว                                                                                                                              
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม   นายวิศนุกูล สุวรรณวงศ์

แนวความคิด

        การศึกษาลักษณะของวิถีชีวิตของชาวไทพวน บ้านผือ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี พบว่าชาวไทพวนมีวิถีการดำรงชีวิตที่เรียบง่ายแบบสังคมชนบททั่วไปมีภาษาพูด ประเพณี วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว อาชีพหลักของชาวไทยพวนคือการทำเกษตรกรรมเป็นวิถีชีวิตที่เรียบง่ายอยู่อย่างพอเพียงและใช้ชีวิตที่พึ่งพิงกับธรรมชาติ ซึ่งเมื่อว่างเว้นจากการทำนาก็จะออกไปหาปูหาปลามาไว้ประกอบอาหาร
           จากแนวความคิดดังกล่าวข้างต้น ผู้สรรค์ผลงานจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของภูมิปัญญาการทำปลาแดะของชนเผ่าไทพวน เกิดแรงบันดาลใจในการที่จะหยิบยกเอา กรรมวิธีการทำปลาร้า  ในการนำเรื่องราวของการทำปลาร้าออกมาสร้างสรรค์ในรูปแบบนาฏยศิลป์พื้นเมืองอีสานชุด สาวไทพวนเอ็ดปลาแดะ เพื่อต้องการสื่อและสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมา  และความสำคัญของภูมิปัญญาในเรื่องของการถนอมอาหาร  การอยู่การกินอย่างเรียบง่าย  ผ่านความเป็นชนเผ่าลาวพวนที่มีวิถีการดำรงชีพ และการทำปลาร้าอย่างลึกซึ้ง




      ฟ้อนบ่าวไทลาวไต้กบ





  การแสดงชุดที่ ๕  ฟ้อนบ่าวไทลาวไต้กบ

ผู้สร้างสรรค์ผลงาน

นายศุภกร ฉลองภาค
นายกฤษดากร บรรลือ
นายวุฒิพงษ์ มุกธวัตร
นางสาวกนกวรรณ พับตา
นางสาวศิเรมอร ธรรมพิชัย

อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ธีรวัฒน์   เจียงคำ
                           อาจารย์อาชา พาลี
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม นายอธิวัฒน์ เพิ่มขึ้น

แนวความคิด

           จากการศึกษาวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลาว อำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นลักษณะสังคมแบบชาวนาที่มีวิถีชีวิตการทำมาหากินที่เรียบง่าย อาศัยการทำมาหากินที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลเป็นสำคัญ โดยเฉพาะในช่วงหน้าฝนเวลากลางคืน ชาวบ้านจะออกไปหา ส่อง หรือ ไต้กบตามท้องนา  เพราะในช่วงต้นหน้าฝนกบจะออกมากินแมลง และผสมพันธุ์ กบตัวผู้จะร้องด้วยเสียง อ๊บ อ๊บ การร้องของกบกลับกลายเป็นเสียงเรียกร้องให้ชาวบ้านนักส่องกบเตรียมเครื่องมือไปล่ากบ โดยการหากบ หรือการไต้กบจะใช้อุปกรณ์ในการหาที่เรียกว่า "กะโป่ง" ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทำด้วยปี๊บและมีตะเกียงซ่อนอยู่ข้างในเพื่อให้แสงสว่างนำทางในตอนไปหากบในเวลากลางคืน พร้อมกับไม้แส้ ที่ใช้ตีกบ ที่มีความยาวขนาดหนึ่งวา โดยการหากบของชาวไทลาวอำเภอแกดำนี้จะมีวิธีการที่เป็นเอกลักษณ์คือ จะใช้ไฟตะเกียงจากกะโป่งส่องนำทางในตอนกลางคืนเพื่อหากบ เมื่อแสงไฟกระทบกับตากบที่มีสีเขียวอมฟ้า จึงใช้ไม้แส้ตีไปให้ถูกตัวกบ หากกบกระโดดหนี ชาวบ้านต้องรีบไล่ตะคุบกบให้ทัน และจับกบนำมาใส่ข้อง  
  ผู้สร้างสรรค์ผลงานได้เล็งเห็นวิธีการความสำคัญของวิถีการทำมาหากินที่เรียบง่ายของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลาว อำเภอแกดำ ที่เป็นเอกลักษณ์จึงเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏยศิลป์พื้นเมืองชุดฟ้อนบ่าวไทลาวไต้กบ โดยนำเสนอการแสดงในรูปแบบการหากบ หรือการไต้กบ เพื่อ ชี้แนวทางการดำรงอยู่ที่มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน




     ฟ้อนสาวสารคามลำเพลิน V.ชิมลางบัณฑิต 5





  ประวัติฟ้อนสาวสารคามลำเพลิน  "เพลงคณะ"  

             แต่เดิมทีนั้น ฟ้อนสาวสารคามลำเพลิน ได้ถูกปรุงแต่ง ขึ้นมาเพื่อใช้ในการการเฉลิมฉลอง ในการสถาปนาคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในปี พ.ศ. 2551   เท่านั้น โดยในตอนนั้น ทางคณาจารย์ได้มีมติให้แต่งเพลง และลายทำนองเพื่อเชิญชวนให้ให้โรงเรียนมัธยมศึกษา ทั่วภาคอีสานมาประกวดแข่งขัน โดยใช้เพลงสาวสารคามลำเพลิน เป็นเพลงบังคับ แล้วให้โรงเรียนที่เข้ามาประกวด คิดท่าฟ้อนขึ้นมาใหม่ จำนวน 8 โรงเรียน ที่เข้ามาประกวด และโรงเรียนสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ก็ได้รับรางวัลชนะเลิศ พร้อมถ้วยและเงินสด 10.000 บาท หลังจากนั้นเป็นต้นมา คณาจารย์ทางกลุ่มสาขาศิลปะการแสดงจึงได้มาทำการคิดประดิษฐ์ท่าฟ้อน ใส่เพลงสาวสารคามลำเพลินนี้   เพื่อให้ลายฟ้อนสาวสารคามลำเพลิน  เป็นลายเอกลักษณ์พร้อมทั้ง  บรรจุเพลงนี้เป็นหลักสูตรในการเรียนการสอน ในวิชาเอกนาฏยศิลป์พื้นเมือง (คือทุกคนต้องต่อท่ารำ และสอบประเมินผลในเพลงนี้)    ในเรื่องของท่าฟ้อนจะออกมาในรูปแบบของท่าฟ้อนสร้างสรรค์ที่เป็นเอกลักษณ์ของนาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

             ฟ้อนสาวสารคามลำเพลิน โดยกลุ่มสาขาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามออกแบบสร้างสรรค์ท่าฟ้อนโดย ว่าที่ร้อยตรี อาจารย์เกิดศิริ นกน้อยประธานภาควิชาศิลปะการแสดงอาจารย์รัตติยา โกมินทรชาติ อาจารย์สุภาพรรณพงษ์ กาญจนพันธุ์ อาจารย์วิภารัตน์ ข่วงทิพย์ และนายณัฐพล ฉายพล (ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปศึกษา (นาฏศิลป์) โรงเรียนนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม )
และควบคุมการสร้างสรรค์ผลงานโดย อาจารย์พีรพงศ์ เสนไสย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง คณบดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ประพันธ์บทร้องโดย นายธวัชชัย พินิจมนตรี
ที่ปรึกษาในการประพันธ์บทร้องโดย ดร.ฉวีวรรณ พันธุ
อาจารย์ยายมลฤดี พรมจักร์ อาจารย์อาชา พาลี
ขับร้องโดย นางสาวสถิตย์ พันธุ์โยศรี
ประพันธ์บทดนตรีโดย นายจักรี อบมา (กุ้ง บ้านแท่น)



สิ่งเหล่านี้ที่เผยแพร่ออกสู่สายตาสาธารณะชนทุกท่านได้ชม  เป็นผลงานของนิสิตชั้นปีที่ ๑  ภาควิชาศิลปะการแสดง  วิชาเอกนาฏยศิลป์พื้นเมือง รุ่นที่ ๑๖ คณะศิลปกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  จุดประสงค์เพียงเพื่อมุ่งหวังอนุรักษ์  สร้างสรรค์  สืบทอดศิลปวัฒนธรรมอีสานให้ดำรงค์อยู่คู่แผ่นดินอีสานสืบไป


การแสดงทั้งหมดนี้ เป็นสิทธิและลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์ผลงาน  หากสนใจ  ติดต่อได้ที่ ภาควิชาศิลปการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้   ขอบกราบขอบพระคุณม ณ  ที่นี้  
    

 
 
สาธุการบทความนี้ : 363 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 362 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2556 เวลา 15:45:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่8) ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม เปิดงานนมัสการองค์พระธาตุเชิงชุม      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


คุณอ้ายโอ๊ต:
ฟังเพลงไม่บอกก็รู้ว่า ลายลีลาวดี นั่นเอง.....แต่ก็ใช้ไปเถอะครับ ผมไม่หวง ส่วนนายโหวดฟ้าคนที่แต่งลายนี้ก็คงไม่ว่าอะไรเหมือนกันครับ

(แถมเพลงก็ตอนนั้น(พ.ศ.2547) อัดตอนที่เพิ่งคิดลายใหม่ๆ ออกจะไม่ลงตัวเรื่องการบรรเลง ว่าง่ายๆเพลงตอนนั้นมันส้มน่ะครับ ผมว่าควรโหลดใหม่จากเว็บ 4shared จะดีกว่าครับ ที่วงพ่อแลอัดไว้จะเพราะกว่านี้)




ท่าฟ้อนเรียบง่ายไม่ประกอบด้วยท่ายาก

แต่ควรจะเพิ่มเรื่องการเดินและแปรแถวนะครับจะได้เด่นขึ้น เพราะแปรแถวน้อยเลยทำให้การแสดงนิ่งไปหน่อยนะครับ

ให้ตัวเอกได้เดินไปทางซ้ายบ้างขวาบ้าง แปรแถวหลายๆแบบจะทำให้น่าสนใจขึ้นครับ



         ต้องขอประทานโทษพี่โอ๊ดและอ.โหวดฟ้าด้วยน๊ะคับ  เรื่องของการใช้ลายคนตรี  โดยที่ไม่ได้แจ้งหรือขออนุญาติในช่วงที่คิดค้นเรื่องการแสดงครั้งแรกๆ  แต่ผมก็ดีใจน๊ะครับ ที่ครูบาอาจารย์ทางสกลนคร เลือกที่จะใช้ ลายลีลาวดี เป็นดนตรีประกอบการฟ้อนพุทธบูชา
ซึ้งวันที่ทำการแสดงครั้งแรก  คือวันเปิดงานนมัสการองค์พระธาตุเชิงชุม ในปี พ.ศ.2551
ลายลีลาวดี  ช่วยให้งานนมัสการองค์พระธาตุเชิงชุมในปีนั้น  เปิดตัวได้อย่างสวยงามครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 358 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 358 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 01:31:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1151) ฟ้อนกินรีเกียงคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่13)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณปังคุง:
คุณnangram:
นางเกียงคำ เป็นชือของนางกินรี ในวรรณกรรมพื้นบ้านอิสานเรื่อง สังข์สินชัย การแสดงชุดนี้ ครูจู๊ด(อ.พิษณู เข็มพิลา) ประธานหลักสูตรนาฏศิลป์ ม.ราชภัฏสารคาม ท่านได้หยิบเอาตอนที่ท้าวสินชัย ได้เดินทางออกตามหาอา(นางมณฑา) ระหว่างทางได้พบกับฝูงกินรี และได้พบกับนางเกียงคำ จึงเป็นที่มาของการแสดงชุดนี้ครับ

    
ขอบคุณมากครับ

    ขอขอบพระคุณอีกทีครับ  ถึงบางอ้อละ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 340 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 340 ครั้ง
 
 
  22 พ.ค. 2554 เวลา 22:30:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   179) พิธี(สู่ขวัญ)สูตรขวัญไทญ้อเมืองสกลนคร,ประเพณีลงข่วง,ฟ้อนไทภูวานากะแด้ง(ฟ้อนปูเมืองสกลนคร)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอีสานลมโชย:
ไทสกลนำกัน ขอขอบคุณครับ

    ครับ  ถ้ามีโอกาส เดี๊ยวจะเอาวิดีโอต่างๆมาลงให้ได้ชมอีก เช่น ฟ้อนหางนกยูงสกลนคร (เก่า) ,  ฟ้อนเส็งศรัทธาพระธาตุนารายณ์เจงเวง(ฉบับเก่าของสกลราช) , แสงสีเสียงสืบสานตำนานผาแดง-นางไอ่ เก่าๆของจังหวัด  ,  แสง สี เสียง ชุด สายแสงแห่งแผ่นดินสกลนคร  ,  รำมวยโบราณบ้านโนนหอม  ,  ขบวนแห่ปราสาทผึ้ง ในปีต่างๆ  ,  และงานประเพณีต่างๆ ฯลฯ  เพื่อการเผยแพร่และสืบทอดครับ    

 
 
สาธุการบทความนี้ : 339 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 336 ครั้ง
 
 
  21 มี.ค. 2554 เวลา 22:55:09  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   182) รำมวยโบราณ โดยคุณตาจำลอง นวลมณี  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) รำมวยโบราณ โดยคุณตาจำลอง นวลมณี      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 

รำมวยโบราณ  โดยคุณตาจำลอง  นวลมณี



นายจำลอง นวลมณี บรมครูมวยโบราณ สกลนคร
ในวัยเด็กเป็นคนขี้โรค อ่อน แอมาแต่กำเนิด แต่มีความมานะฝึกตนเองเล่นกีฬาทุกอย่างให้ ร่างกายแข็งแรง จึงได้รับชื่อเสียงในทางกีฬาเสมอมา นอกจากสนใจมวยคาดเชือกแล้ว นายจำลอง นวลมณี ยังสนใจมวยพื้นบ้านซึ่งมีลีลาท่าทางอ่อนช้อย สวยงามและแฝงไว้ซึ่งความแข็งแรงน่า เกรงขาม นายจำลอง ได้ติดตามการเล่นการแสดง ของนักมวยไปทุกหนทุกแห่ง ซึ่งมักมีในงานบุญผเวส บุญบั้งไฟ เมื่อทราบข่าวบางทีต้องเดินทางแรมคืนไปดู จึงได้เห็นลีลาท่าทางชั้นเชิงของนักมวยแต่ละคน แล้วนำมาฝึกหัดดัดแปลง จากหลายๆ อย่างเพื่อให้ดูน่าชม ครูมวยโบราณ ชื่นชมมากที่สุดคือ นายฮ้อยสีมุม เป็นชาวกุลา (ไทใหญ่) รูปร่างสูงใหญ่ มีลายสักเต็มตัว ตั้งแต่ปลายเท้าจนถึงศีรษะ เป็นนักมวยที่มีลวดลาย ลีลา ท่าทาง สวยงามมากจึงได้ฝึกหัดกับนายฮ้อยสีมุน เมื่ออายุ 10 ปี
จนกระทั่งพัฒนามาเป็นลีลาชั้นเชิงของตนเองตามแบบฉบับมวยโบราณสกลนคร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 324 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 321 ครั้ง
 
 
  09 พ.ค. 2554 เวลา 12:40:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   115) อยากได้เพลงกระโน๊บติงตอง ใครมีบ้างเอ่ย  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
ผมมีคัฟ เห็นตั้งกระทู้ไว้นานแล้วไม่รู้ว่าได้รึยัง

http://www.4shared.com/audio/8bpj0MRN/_online.html

 
 
สาธุการบทความนี้ : 319 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 319 ครั้ง
 
 
  03 ก.ย. 2553 เวลา 22:32:45  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่20) ขอขอบพระคุณครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณโหวดฟ้า:
ดนตรีเวอร์ชั่นนี้เก่ามากครับ รุ่นพี่รุ่นเก่าๆของวงแคนเป็นคนเล่นร่วมกัน ผมเป่าโหวด

ใช้ไมค์ 4 ตัว เท่านั้น สมัยนั้นมิกก็เก่ามากครับ แต่ออกมาแล้วคลาสสิกดี นึกถึงรุ่นวงแคนวงเก่าๆนะครับ

ดนตรีอีสาน ปรับประยุกต์ได้ครับ แต่ถ้าจะให้ดีที่สุด อยากให้มีการทำดนตรีใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์ขององค์พระธาตุจริงๆ ผมยินดีแต่งลายให้ให้ครับเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ

ควรปรับให้เป็นชุดและผ้าแบบอีสาน จะงามขึ้นมากครับ

สร้างเป็นพุทธบูชา และจิตสำนึกในการสร้างสรรค์และอนุรักษณ์วัฒนธรรมท้องถิ่น ขอชื่นชมครับ

    


          ขอขอบพระคุณมากๆน๊ะครับ  สำหรับคำแนะนำและคำชมทุกๆอย่าง  รวมไปถึงความรู้สึกที่มีต่อลายเพลงที่ถือว่าเป็นความทรงจำเก่าๆ  ที่ทรงค่าสำหรับอ.โหวดฟ้าเป็นอย่างมากเลยก็ว่าได้ ขอชื่นชมสำหรับความสามารถในการแต่งลายเพลงน๊ะครับ  และขอบคุณครับที่ยินดีที่จะแต่งลายเพลงให้ เพื่อให้เป็นอัตลักษณ์แห่งการฟ้อนบูชาพระธาตุเชิงชุม  ผมยินดีครับ
ผมหวังอย่างยิ่งว่า อ.โหวดฟ้า และ ครูบาอาจารย์ทางสกลนคร จะได้มีโอกาสได้ร่วมงานกัน
ในการสร้างสรรค์การแสดงชุดใหม่   "ฟ้อนพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  ในวันข้างหน้า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 292 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 292 ครั้ง
 
 
  31 ก.ค. 2553 เวลา 21:26:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1162) นำผลงานมาให้ชม ติชม กันได้นะครับ  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่13)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
วิดีโอผลงานของคุณมิ่งมหานคราแก่นนคร ใช่มัียครับ  เพราะเห็นชุดเหมือนกันเด๊ะเลย





  

:D

 
 
สาธุการบทความนี้ : 289 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 289 ครั้ง
 
 
  19 พ.ค. 2554 เวลา 23:06:23  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   943) มีผลงานมาให้ชม "ระบำนาฏนาราชบูชาพระธาตุพนม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่5) ระบำนาฏนาคราชบูชาพระธาตุพนม      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


คุณกรเดช:
เป็นผลงานของที่ไหนครับ

นาคผู้หญิงสวยทุกคนเลย....

    

การแสดงชุดนี้  เป็นผลงานวิจัยของนิสิตนักศึกษาคณะศิลปะกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร์เกษม  ปี พ.ศ.2552  คับ

เป็นรุ่นที่  4 - 5  คับ   พัฒนามาจากชุดแรกๆ

ขอบคุณทุกคำชมน๊ะคับ   :D

 
 
สาธุการบทความนี้ : 288 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 288 ครั้ง
 
 
  21 ก.ค. 2553 เวลา 21:53:49  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   938) วงโปงลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (ฟ้อนสรภัญญะบูชาครู)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) วงโปงลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (ฟ้อนสรภัญญะบูชาครู)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 

 
 
สาธุการบทความนี้ : 286 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 286 ครั้ง
 
 
  19 ก.ค. 2553 เวลา 02:29:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณไทญ้อ:
คุณไทภูพานหนองหารสกลนคร:
ฟ้อนภูไทสกลนคร
       ฉบับนี้มีอายุมานานมากกว่า 40กว่าปีมาแล้ว  ผมไปได้มาเลยนำเอามาเผยแพร่ครับ   ซึ้งเป็นวิดีโอการแสดงของชนเผ่าไทญ้อและภูไทสกลนคร  โดย.หลวงปู่ภูพาน ท่านได้อุปถัมป์ไว้ในสมัยนั้น

1. ลำนำเรื่องเมืองสกลนคร ประวัติศาสตร์วาทฟ้อนออนซอนเผ่าญ้อเผ่าภูไท   โดย.หมอลำฉวีวรรณ  ดำนเินิน



2. ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฟ้อนภูไทบ้านโนนหอม)



ขอบคุณครับ  :)

สกลมีการแสดงที่เรียกว่ารำหางนกยูงผมก็เคยเห็นของสว่างแดนดินเอาไปเล่นตอนแข่งฟ้อนลำแคนแต่เล่น  เล่นแค่นิดเดี่ยวคุณพอจะมีประวัติการแสดงชุดนี้แล้วพอจะมีคลิป
    เก่าๆแบบนี้บ้างไหมคับ(สมัยนั้นหลวงปู่น่าจะถ่ายเก็บไว้)


อ่อๆ  อันนี้ผมคิดว่า (อาจจะ) มีครับ เพราะว่าที่เป็นวิดีโอยังไม่ได้ทำเป็น DVD ก็เยอะมาก ในชุดเดียวกันนี้มี ลงข่วง  กับ บายศรีไทญ้อ  ซึ้งวันไหนว่างๆผมจะเอามาลงครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 284 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 284 ครั้ง
 
 
  06 มี.ค. 2554 เวลา 18:28:21  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1151) ฟ้อนกินรีเกียงคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณสะเลเต:
ถามหน่อยวิธีการโพสให้มันขึ้นทั้งภาพและวีดีโอทำไงเหรอครับ

    แฮะๆ  ^^"  วิธีการนำไฟล์ video จาก youtube มาลงที่เว็บบอร์ดครับ

คลิกที่นี่ http://sell2hand.com/viewtopic.php?p=101&sid=388dc0a3484ab263120e040704db9267

ลองศึกษาดูน๊ะครับ  ผมก็ดูจากในนี้นี้แหละครับ ถึงเป็น  :)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 276 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 276 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2554 เวลา 23:04:52  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   409) วงโปงลางพ่อแล โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่757)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:

    งาม..

 
 
สาธุการบทความนี้ : 273 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 273 ครั้ง
 
 
  11 ธ.ค. 2553 เวลา 18:47:17  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่19)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณปังคุง:
คุณไทภูพานหนองหารสกลนคร:

เล็บฟ้อนภูไทสกลนคร (แบบบ้านโนนหอม)  ทำเอง ^^"    



บ่งาม  อิอิ

    ขอบใจ  อิอิ  (กัดดี!!) จุ๊ฟๆ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 271 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 271 ครั้ง
 
 
  17 พ.ค. 2554 เวลา 21:16:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
ฟ้อนภูไทสกลนคร
       ฉบับนี้มีอายุมานานมากกว่า 40กว่าปีมาแล้ว  ผมไปได้มาเลยนำเอามาเผยแพร่ครับ   ซึ้งเป็นวิดีโอการแสดงของชนเผ่าไทญ้อและภูไทสกลนคร  โดย.หลวงปู่ภูพาน ท่านได้อุปถัมป์ไว้ในสมัยนั้น

1. ลำนำเรื่องเมืองสกลนคร ประวัติศาสตร์วาทฟ้อนออนซอนเผ่าญ้อเผ่าภูไท   โดย.หมอลำฉวีวรรณ  ดำนเินิน



2. ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฟ้อนภูไทบ้านโนนหอม)



ขอบคุณครับ  :)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 270 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 269 ครั้ง
 
 
  05 มี.ค. 2554 เวลา 08:20:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่11) ฟ้อนภูไทบ้านโนนหอมบูชาพระธาตุเชิงชุม และรำมวยโบราณ ปี2545      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
ฟ้อนภูไทบ้านโนนหอมบูชาพระธาตุเชิงชุม และรำมวยโบราณ ปี2545

ฟ้อนภูไทบ้านโนนหอมบูชาพระธาตุเชิงชุม และรำมวยโบราณ




ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้เข้ามาชมมูลมังเมืองสกลนครครับ  :)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 270 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 270 ครั้ง
 
 
  04 เม.ย. 2554 เวลา 15:06:21  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   943) มีผลงานมาให้ชม "ระบำนาฏนาราชบูชาพระธาตุพนม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณปังคุง:
คุณเด็กน้อยร้อยเอ็ด:
การประดิษฐ์ควรจะดูเรื่องของตำนานด้วย  ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นความไม่รู้และลบหลู่ได้

    

ละครพันทางครับ  ต้องเข้าใจเค้าหน่อย (555+)

    

อ่านะ  ปังคุง  งิงิ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 266 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 266 ครั้ง
 
 
  22 ก.ค. 2553 เวลา 02:48:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่5) ภาพบรรยากาศการแสดง ณ ร.ร.สกลราชวิทยานุกูล      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


เมื่อเดือน  สิงหาคม  2552

 
 
สาธุการบทความนี้ : 264 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 264 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 00:42:55  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่16)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณปังคุง:
คุณอ้ายโอ๊ต:
คุณไทภูพานหนองหารสกลนคร:
ฟ้อนภูไทสกลนคร
       ฉบับนี้มีอายุมานานมากกว่า 40กว่าปีมาแล้ว  ผมไปได้มาเลยนำเอามาเผยแพร่ครับ   ซึ้งเป็นวิดีโอการแสดงของชนเผ่าไทญ้อและภูไทสกลนคร  โดย.หลวงปู่ภูพาน ท่านได้อุปถัมป์ไว้ในสมัยนั้น

1. ลำนำเรื่องเมืองสกลนคร ประวัติศาสตร์วาทฟ้อนออนซอนเผ่าญ้อเผ่าภูไท   โดย.หมอลำฉวีวรรณ  ดำนเินิน


หลายคนถกเถียงเรื่องขันหมากเบ็งใส่ขันกระหย่อง ก็เห็นได้ชัดว่ามีการทำอย่างที่ว่ากันมานานแล้ว คนที่จะเถียงว่ามันไม่เคยมีใครทำมาก่อน คงว่าไม่ได้แล้วล่ะครับ

    
ก็มีทั้งสองแง่แหละครับพี่โอ๊ต  จริง ๆ แล้วเขาไม่วางบนกระหย่อง  แต่ที่วางบนกระหย่องก็มี  บ้านผมแหละที่นึง(เคยเห็นตอนเด็ก)  แล้วแต่ที่ด้วยล่ะเนาะ  55

    อันนี้กอล์ฟไม่ได้แย้งกับใครน๊ะ  เพราะเมื่อคืนลองถามแม่เล่นๆ ว่า ปู่ย่าตายายของแม่(ชาวภูไทโพนนาแก้ว สกลนคร) นั้นเคยเห็นมั๊ย ที่นำขันหมากเบ็งมาวางบนขันกระหย่อง  แม่ก็บอกมาว่า เคยเห็น  แล้วผมก็ถามต่อว่าเค้าใช้ทำอะไร  คำตอบคือนำมาเป็นเครื่องบูชา ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 263 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 263 ครั้ง
 
 
  13 พ.ค. 2554 เวลา 18:48:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   678) ฟ้อนหางนกยูง จ.นครพนม  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่14)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:
ฟ้อนหางนกยูงในงานบูชาพระธาตุพนม ไม่ทราบพ.ศ.

    ชอบอะ  ได้ใจมากกกก  แม่ป้าทั้งหลาย อิอิ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 260 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 260 ครั้ง
 
 
  26 พ.ค. 2554 เวลา 23:39:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1150) ฟ้อนสาวผู้ดีศรีมหาสารคาม โดย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณสินไซน้อย:
ดนตรี  เหมือน นารีศรีอีสาน  นะคับ

    ผมว่าเหมือนลาย ออนซอนอีสานครับ  :)

   ลายออนซอนอีสาน>>>http://www.4shared.com/audio/mxAsf9Ok/_-_.htm

 
 
สาธุการบทความนี้ : 259 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 259 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2554 เวลา 01:05:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1021) การแสดงนาฏยนิพนธ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 11 ตุลาคม 2553  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่18)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณปังคุง:
คุณเน็ก:
คุณอ้ายโอ๊ต:
ชุดเตรียมไว้แล้ว ก็จะใส่ไม่มากหรอกครับ รวมราคาทั้งชุดก็หมื่นนึงพอดิบพอดี(ไม่รวมเงินในกระเป๋า) อิๆ โม้ไปป่าวเนี้ย

    

เกินๆ

    

ปังคุงลงตัวที่ห้าร้อย  55  ถ่าเบิ่งเด้อ

    

  ผ่วนนนนแล้วววววววว
  
สุ่เจ้า ข่อยสิเอาหยังไป๋สู้ เห้อๆ  ถ่าเบิ่งเด้อ ไม่ค่อยจะพื้นเมืองหรอก

 
 
สาธุการบทความนี้ : 258 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 258 ครั้ง
 
 
  26 ก.ย. 2553 เวลา 22:26:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1092) ฟ้อนช่อหยาด คณะศิลปะกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในงานบุญเบิกฟ้าและงานกาชาด ประจำปี ๒๕๕๓  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่24)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณสะเลเต:
http://www.youtube.com/watch?v=eJHbSFrYs6k&feature=related
ฟ้อนช่อหยาดโดยวงแคน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  เจอโดยบังเอิญเหมือนกัน

    

 
 
สาธุการบทความนี้ : 258 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 258 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2554 เวลา 22:58:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1131) อยากได้ ลายเซิ้งกะโป๋ หรือ ฟ้อนกะโป๋ค่ะ  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณคำสัญญาที่กาฬสินธุ์:
อยากได้ ลายเซิ้งกะโป๋ หรือ ฟ้อนกะโป๋ค่ะ ใครมีช่วยลงให้ด้วยนะคะ...ขอขอบคุณล่วงหน้านะคะ

    ลายฟ้อนกะโป๋  บรรเลงโดย  วงโปงลางสาเกตุนคร  วิทยาลัยนาฏศิลป์ร้อยเอ็ด ครับ

>>> http://www.4shared.com/audio/W4jIFq8c/02_-_.html

 
 
สาธุการบทความนี้ : 256 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 255 ครั้ง
 
 
  16 มี.ค. 2554 เวลา 19:13:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1152) รำนาคี นาคา โดย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณสะเลเต:
http://www.youtube.com/watch?v=IGOkINyYhFU&feature=related

    

     ฟ้อนนาคีนาคา  โดย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การแสดงชุดนี้บรรจุท่ารำโดยอาจารย์กรกฏ(พิษณุ) เข็มพิลา ประธานหลักสูตรสาขานาฏศิลป์และการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 256 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 256 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2554 เวลา 22:54:13  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่4) ภาพบรรยากาศการแสดง ณ ร.ร.สกลราชวิทยานุกูล      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


ต้อนรับ  พณ.เชาว์ นศีลวัน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 255 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 255 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 00:41:43  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่2) ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 

การแสดงชุดนี้ได้ประดิษฐ์ท่ารำขึ้นจากการผสมผสานกับท่ารำของเขมรและ         ท่ารำไทย  เพื่อให้เกิดความสวยงามและช้อย  และเข้ากับยุค  สมัยขอมในอดีต จึงใช้การแต่งกายแบบนางอัปสรา (อัปสร) แบบเขมร


        เครื่องบูชาพระธาตุ

การบูชาองค์พระธาตุด้วยขันหมากเบ็ง
ขันหมากเบ็ง  หรือ  ขันหมากเบญจ์   คือพานพุ่มดอกไม้ที่ใช้เป็นพานพุ่มบูชาในพิธีกรรม            และบูชาพระรัตนตรัยในวันอุโบสถ หรือวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา   รวมทั้งการนำไปบูชาวิญญาณบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว โดยนำไปวางไว้ตามเสารั้ววัด หรือหลักเส (ธาตุ ทำด้วยไม้แก่น แกะสลักสวยงามเจาะให้เป็นช่องสี่เหลี่ยมขนาดสี่นิ้วฟุต สำหรับบรรจุอัฐิ)  ซึ่งนิยมทำในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา  และวันสงกรานต์
          ขันหมากเบ็ง  คือพานพุ่มใส่ดอกไม้ หรือเครื่องบูชา ได้แก่ หมาก พลู ธูป เทียน ข้าวตอก ดอกไม้ อย่างละ 5 คู่ ใช้ใบตองทำเป็นซวย (กรวย) หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า บายศรี โดยใช้ใบตองรีดซ้อนกันให้เป็นรูปคล้ายเจดีย์   ทำเป็นสี่มุมรวมทั้งตรงกลางเป็น 5 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 นิ้ว สูง 6- 8 นิ้วประดับประตูด้วยเครื่องบูชาดังได้กล่าวแล้ว ไว้บนยอดแหลมของบายศรี เรียงลดหลั่นลงมาตามลำดับเพื่อให้ความสวยงาม
          ดอกไม้ซึ่งเป็นที่นิยม เช่น ดอกดาวเรือง (จะทำให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง) ดอกสามปีบ่อเหนี่ยว(ดอกบานไม่รู้โรย) เชื่อว่าจะทำให้อายุมั่น ขวัญยืน แต่ปัจจุบันนี้จะนิยมใช้ดอกรัก (ทำให้เกิดความรัก)  ดอกพุด เพื่อให้เกิดความสวยงาม
วิธีการใช้ขันหมากเบ็ง  หรือ  ขันหมากเบญจ์
1.  ใช้เป็นเครื่องสักการบูชาพระรัตนตรัย
2.  ใช้เป็นเครื่องสักการะอยู่ในเครื่องพลีกรรม ไหว้ครู บอกผี (เซ่นสรวงดวงวิญญาณ)
3.  บูชาวิญญาณบรรพบุรุษ โดยนำไปบูชาตามหลักเส (ธาตุ) ที่บรรจุอัฐิ (กระดูก)
4.  เป็นเครื่องให้พิจารณาเตือนคนได้ พิจารณาเบญจขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 254 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 254 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 00:36:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณเด็กน้อยร้อยเอ็ด:
40 ปีเชียวเหรอครับ ผมว่าดูจากการตัดต่อไม่น่าจะเกิน 20 ปี

    
    นำออกมาจากม้วนวิดีโอครับ  แล้วก็นำมาตัดต่ออีกที

 
 
สาธุการบทความนี้ : 254 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 254 ครั้ง
 
 
  06 มี.ค. 2554 เวลา 08:44:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   182) รำมวยโบราณ โดยคุณตาจำลอง นวลมณี  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอีสานลมโชย:
ยกให้ไทภูพานหนองหารสกลนครเป็นกูรูเรื่องจังหวัดสกลนครเลยครับ

    ขอขอบคุณน๊ะครับ  :D
ผมก็ไม่ได้รุ้อะไรมากมายหรอกครับ  เพียงแต่ว่าถ้าจะทำต้องทำให้ถูก  ถ้าทำไม่ได้ก็เอาสิ่งที่ถูกต้องหรือสิ่งที่เชิดหน้าชูตาของบ้านเมืองตัวเองออกเผยแพร่  จะดีกว่า เอาของที่อื่นที่เค้าประยุกต์มานำเสนอสู่สายตาคน  อันนี้ผมภูมิใจมากกว่า  บ้านเรามีอะไรดีเราก็ควรภูมิใจในสิ่งนั้น  เช่นฟ้อนภูไทสกลนคร  หรือฟ้อนภูไทบ้านโนนหอม  และรำมวยโบราณ  เราฟ้อนตามมีตามเกิดตามที่ปู่ย่าตายายเคยพาทำมา  ถึงแม้ว่าอาจจะไม่หรู  ไม่อลังการเหมือนที่อื่นก็เถอะ
ภูมิใจในสกลนครมากกว่าครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 254 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 254 ครั้ง
 
 
  12 พ.ค. 2554 เวลา 20:56:57  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   943) มีผลงานมาให้ชม "ระบำนาฏนาราชบูชาพระธาตุพนม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) มีผลงานมาให้ชม "ระบำนาฏนาราชบูชาพระธาตุพนม"      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 





ระบำนาฏนาคราช บูชาพระธาตุพนม เป็นการแสดงที่จัดทำขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชาแด่องค์พระธาตุพนม ที่มีพยานาคทั้ง 7 ตนแปลงกายเป็นมนุษย์ ขึ้นมารำบวงสรวงบูชาองค์พระธาตุพนม
โดยการแสดงนี้ มีการผสมผสานระหว่างนาฏศิลป์อินเดียและนาฏศิลป์พื้นเมืองอีสานเข้าด้วยกัน

***โดยใช้ท่ารำแม่บทภาคอีสาน แม่บทใหญ่ และท่ารำนาฏศิลป์อินเดียในการประดิษฐ์ท่ารำ
การแสดงชุด  "ระบำนาฏนาราชบูชาพระธาตุพนม"

จาก...golf 5/14 สกลราช ***53
[/flash]

 
 
สาธุการบทความนี้ : 250 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 250 ครั้ง
 
 
  20 ก.ค. 2553 เวลา 21:40:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณไทญ้อ:
สุดยอด  สุดยอด   สุดสุดสุดยอด  สุดยอด  สุดยอด
ไปหามาจากไหนเนี้ยคับขลังจริงๆสวยมาก

    กรุของวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหารครับ  :)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 248 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 248 ครั้ง
 
 
  06 มี.ค. 2554 เวลา 18:17:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่33)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


นางรำในขบวนชนเผ่าไทญ้อ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 245 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 245 ครั้ง
 
 
  02 ก.ย. 2553 เวลา 07:11:26  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   177) ฟ้อนภูไทสกลนคร (ฉบับดั้งเดิม)  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอีสานลมโชย:
ของแท้และดั้งเดิม ขอบคุณที่นำมาเผยแพร่

    
   ครับ  ของเก่าถึงแม้ว่าจะสวยสู้ของใหม่ไม่ได้  แต่ก็ทรงคุณค่าต่อคนรุ่นหลังในหลายสิ่งหลายอย่างครับ  :)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 245 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 245 ครั้ง
 
 
  05 มี.ค. 2554 เวลา 23:17:07  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   108) ลายฟ้อนมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่59)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:


ลายฟ้อนมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น

โดยสาขาวิชาดนตรีและการแสดงพื้นบ้าน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น    

แต่งลายเพลงโดย อ.โหวดฟ้า บันทึกเสียงโดย ต้น(รัก)สตูดิโอ(หลัง มข.)  

""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""

ลายมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น

สร้างขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา โดยมีความมุ่งหมายที่จะใช้เป็นลายบรรเลงประกอบการฟ้อนบวงสรวงแด่องค์พระธาตุขามแก่น

ซึ่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย สาขาดนตรีและการแสดงพื้นเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ ได้ มีเจตุจำนงอันยืดมั่งอยู่ในบวรพระพุทธศาสนา
ซึ่งลายมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่นนี้ ก็คือเครื่องบ่งชี้ให้เห็นถึงความศรัทธาอันยิ่งใหญ่นั้น

ลายมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น
ประดิษฐุ์ลายเพลงขึ้นโดย อ.สุวิทย์ วิชัด(โหวดฟ้า)
บรรเลงและฟ้อนโดยนักศึกษาสาขาดนตรีและการแสดงพื้นเมือง มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประดิษฐ์ท่าฟ้อนโดย อ. ศราวดี ภูชมศรี
ควบคุมการฝึกซ้อมโดย อ. ศราวดี ภูชมศรี, อ.ธนัชพร,คุณแม่วันดี พลทองสถิต


ประวัติการแต่งลายเพลง
ลายมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น
สร้างขึ้นเมื่อ วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน 2552 เวลา 02.42 น.

ซึ่งเมื่อเสร็จสิ้นการสร้างลาย ลายมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น นั้นได้มีการบวงสรวงต่อองค์พระธาตุขามแก่นและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายจนบังการสิ่งอัศจรรย์
คือมีเสียงฟ้าร้องจากทางทิศเหนือ ซึ่งเป็นทิศที่ตั้งขององค์พระธาตุขามแก่น และทั้งยังมีฟ้าแล่บสว่างไสวไปทั่วบริเวณ จนดูราวกับว่าเป็นเวลากลางวัน


ปวงข้าทั้งหลายขอถวาย ลายมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น นี้เพื่อเป็นพุทธบูชาด้วยเทอญ...    

........................................

โหวดฟ้านำเสนอ อ้ายโอ๊ตเรียบเรียงและเขียนตามคำบอกมาอีกที

 
 
สาธุการบทความนี้ : 239 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 239 ครั้ง
 
 
  19 ก.ค. 2553 เวลา 02:58:21  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่40)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


วัดพระธาตุเชิงชุม คืนวันถวายปราสาทผึ้ง ในช่วงเวลาเที่ยงคืน หลังขวบแห่เสร็จสิ้น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 237 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 237 ครั้ง
 
 
  02 ก.ย. 2553 เวลา 07:23:16  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   23) ขอมาเราจัดให้  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่22) ลายเซิ้งกะโป๋ วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณคำสัญญาที่กาฬสินธุ์:
ขอลายเซิ้งกะโป๋ ของ วนศ.กส. แน่จร้า

  
          ลายเซิ้งกะโป๋ วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ครับ
>>>   http://www.4shared.com/audio/kN_2-sMN/_2_online.html

 
 
สาธุการบทความนี้ : 235 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 235 ครั้ง
 
 
  20 มี.ค. 2554 เวลา 15:41:19  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   937) ใครมี คลิปวิดีโอ รำแม่บทอีสานบ้างคับ อยากดูอ่า  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่2) มีเพลงสรภัญญะบูชาครูมั๊ยครับ นอกจากฟ้อนจุฬาสรภัญญะ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
อันนี้เป็นของ  วงโปงลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี  อ่าคับ   เพราะดี


 
 
สาธุการบทความนี้ : 233 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 232 ครั้ง
 
 
  19 ก.ค. 2553 เวลา 01:50:07  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 



 
 
สาธุการบทความนี้ : 233 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 233 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 00:18:41  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   947) พอจะมีลาย ฟ้อนแกลมอ และก็ ศรีสะเกษ ๔ เผ่าไทย มั๊ยครับ เป็นไฟล์เสียงอ่าครับช่วยอนุเคราะห์ผ๋มที  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่0) พอจะมีลาย ฟ้อนแกลมอ และก็ ศรีสะเกษ ๔ เผ่าไทย มั๊ยครับ เป็นไฟล์เสียงอ่าครับช่วยอนุเคราะห์ผ๋มที      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


การแสดงศิลปวัฒนธรรมของชน 4 เผ่าในจังหวัดศรีสะเกษ
     เริ่มจาก เผ่าเยอ เป็นชนเผ่าที่อาศัยในเขตอำเภอราษีไศล เมืองจันทร์ ไพรบึงและอำเภอเมืองบางส่วน ต่อมาเป็นเผ่าเขมร ซึ่งอาศัยอยู่แถบอำเภอ ปรางค์กู่ ขุขันธ์ ไพรบึง ขุนหาญ กันทรลักษ์ เผ่าที่3 คือเผ่าส่วย อาศัยอบู่แถบอำเภอเมืองบางส่วน ปรางค์กู่ ขุขันธ์บางส่วน ไพรบึง เมืองจันทร์ และขุนหาญบางส่วน ส่วนเผ่าสุดท้าย เป็นเผ่าลาว ซึ่งเป็นประชากรที่เป็นคนส่วนใหญ่ของจังหวัดและยังมีภาษาพูดที่มีสำเนียงเป็นเอกลักษณ์ที่ใครฟังแล้วก็จะรู้ได้ทันทีว่าเป็นคนศรีสะเกษ ล้วนแล้วแต่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ไม่ว่าจะเป็นเครื่องแต่งกาย ดนตรี จึงเป็นความภาคภูมิใจที่จังหวัดศรีสะเกษมีวัฒนธรรมที่หลากหลายและน่าชื่นชมยิ่ง


ฟ้อนแกลมอ

     การฟ้อนรำของชาวไทยกูยสุรินทร์เป็นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงความเป็นมาและองค์ประกอบของพิธีกรรมแกลมอ    วิเคราะห์ความเชื่อกับการฟ้อนรำ   และเพื่อศึกษาท่าฟ้อนรำที่พัฒนามาจากพิธีกรรมแกลมอ  ในการดำเนินการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษา 2 แนวทางคือ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง   และศึกษาจากข้อมูลสนาม โดยมุงศึกษาพิธีกรรมแกลมอของชาวไทยกูยบ้านตรึม บ้านแตล อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ แล้วนำมาเสนอในเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาทราบว่าชาวกูยที่อาศัยอยู่ในแถบจังหวัดสุรินทร์ เป็นชนพื้นเมืองเดิมที่มีความชำนาญในการจับช้างส่วนหนึ่งเรียกว่ากวยช้าง และอีกส่วนทำการเกษตรเป็นหลัก เรียกว่ากวยเป๊าะหรือกวยเดิน ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ประมาณศตวรรษที่ 9 ต้น อาณาจักรเจนละ ซึ่งเข้าใจว่ามีกลุ่มที่อาศัยอยู่ ตอนหลังผสมผสานแต่งงานร่วมวัฒนธรรมกับพวกขอม จนกลายเป็นชาติผสม ชาวกวยมีความเชื่อในพิธีกรรมแกลมอ แกลออ ซึ่งถือเป็นภูมิปัญญารักษาโรคด้วยเพลงดนตรี กฎระเบียบทางสังคม นับว่ามีบทบาทต่อการดำรงชีวิตของชนกลุ่มนี้ ในการประกอบพิธีกรรมแกลมอมีองค์ประกอบที่สำคัญคือ ปะรำพิธี เครื่องเซ่น เครื่องดนตรี การแต่งกาย และผู้เล่น จากพิธีกรรมแกลมอ ท่ารำในการประกอบพิธีกรรม ที่นำมาพัฒนาเป็นการแสดงรำแกลมอ ประกอบด้วย ท่าหมุนขัน ท่าไหว้ครู ท่าปรบมือ ท่าม้วนจีบ ท่าโน้มตัว ท่าสวดแบก ท่าลา ซึ่งท่ารำเหล่านี้เป็นท่ารำพื้นบ้านที่บริสุทธิ์ของชาวบ้าน ซึ่งผู้วิจัยนำมาพัฒนาให้สวยงามและได้นำมาเสริมแต่งลีลานาฎศิลป์ให้แลดูสวยงามขึ้น และปรับปรุงดนตรีใหม่ โดยใช้วงกันตรึมเขมรมาบรรเลงประกอบ ในพิธีกรรมแกลมอ แกลออ เป็นพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อรักษาอาการเจ็บป่วย เพื่อเลี่ยงทาย และเพื่อไหว้ครูหรือไหว้ผีบรรพบุรุษ ซึ่งคล้ายคลึงกับพิธีกรรมของกลุ่มชาวไทยเขมรที่เรียกว่า มะม็วต กลุ่มชาวไทยลาวที่เรียกว่า ผีฟ้าผีแถน ฯลฯ ต่างก็มีลักษณะร่วมที่คล้ายคลึงกัน เช่น มีดนตรีประกอบพิธีกรรม มีการฟ้อนรำ มีเครื่องบูชาครู มีล่ามคอยสื่อภาษา เป็นต้น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 229 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 229 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 19:35:29  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   643) ชุดการแต่งกายที่ไม่พึงควรและไม่ควรนำมาใช้สำหรับการแสดง  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่144)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:
ชุดผู้ชายที่ผม.......ยี้........ที่สุดคงเป็นชุดที่มีองค์ประกอบดังนี้

-เสื้อบอดี้สูท โดยเฉพาะสีดำ

-ผ้ามัดผมที่บิดเกลียวหรือเปียด้วยผ้าสีสุดแป๋นต่างๆ บางคนก็เอาหัวนางอัปสรามาสวมเลย น่ากลัวสุดๆ

-ดอกไม้ไหวและใบไม้ไหว

-ผ้านุ่งสาหรี่อินเดีย นุ่งเป็นโจงกระเบนหางไหล แถมยังมีผ้าคล้องแขนให้เกะกะด้วย

-การแต่งหน้าแบบขาวโบะ จนเกิดเป็นคราบแป้งไหลออกเวลาที่อากาศร้อนๆ สยองยิ่งกว่าหน้าผีเสียอีก

.........หากเป็นประเภทไร้นม อารมณ์เกินหญิง ก็จะประโคมเครื่องประดับจนไม่ดูสังขารของตนว่าเหมือนกับเอาดอกไม้ไปปักบนมูลวัวเพียงใด เป็นการพยายามทำตนให้งามในสายตาตน กลับยิ่งดูแย่ในสายตาคนอื่น (บางคนนะครับ แค่บางคน)



ดังนั้น...พี่น้องเอ๋ย หากว่าภาคอีสานยังคงมีคนที่แต่งตัวแบบนี้อยู่ ก็ควรพิจารณารสนิยมตัวเองว่าอยู่ในระดับชั้นหรือ classไหน


พญาเมืองใด๋น้อ 555+

ฮาแตกเลยอ่าพี่โอ๊ต อิอิ กร๊ากกกกกกกกกกกกกกก!!

 
 
สาธุการบทความนี้ : 228 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 226 ครั้ง
 
 
  18 ต.ค. 2553 เวลา 03:35:43  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   946) ของเก่าเอามาให้เบิ่งกัลเด้อคับ "ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม"  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่3) ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 


วิดีโอการแสดงชุด  ระบำพุทธบูชาวันทาพระธาตุเชิงชุม  นี้
อาจมีบางส่วนขาดหายไปเนื่องจากการตัดต่อ  เพราะว่า วิดีโอนี้มีความยาวเกิน 10 นาที

ถึงจะอย่างไรก็ช่วยให้คำแนะนำด้วยน๊ะคับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 228 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 228 ครั้ง
 
 
  24 ก.ค. 2553 เวลา 00:39:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   715) นางไหทำไมนิยมใส่เกาะออกรำ  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่95)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
คุณไทญ้อ:
คุณอ้ายโอ๊ต:


นางไห....อย่างพริ้ว

อ้างอิงภาพจาก http://catadmin.cattelecom.com/km/blog/wittayasri
    
อ้ายโอตได๋มาแต่ไสน๋อรู้สึกกว่าผมสิฮู้จักกับพี่คนนั้

    นี้มันไหของโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูลนี้นา  แล้วสถานที่แสดงก็เป็นหอประชุมของสกลราชวิทยานุกูลในสมัยนั้น  ส่วนไหผมเพิ่งแต่งใหม่เมื่อ3อาทิตย์ที่แล้ว  รื้อผ้าออกหมดเลย  ผมจำได้  แล้วพี่คนนี้เรียนอยู่ที่ราชภัฏสกลนคร  ถ้าจำไม่ผิด  ผมคิดว่าพี่เค้าจบจากราชภัฏสกลนครไปแล้ว  ปีเมื่อกี้ ครับ  

***ผมมั่นใจ  ว่าไหที่ดีด  เป็นของโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูลแน่นอนครับ  แต่นางไหผมไม่แน่ใจครับว่าใช่นักเรียนโรงเรียนสกลราชฯหรือไม่ เพราะผมอาจจะยังเข้าไม่ทันพี่เค้า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 227 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 227 ครั้ง
 
 
  18 มี.ค. 2554 เวลา 20:49:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1147) วงมูลมังฝั่งน้ำโขง โรงเรียนหนองคายวิทยาคาร  
  ไทภูพานหนองหารสกลนคร    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่ใหญ่

ภูมิลำเนา : สกลทวาปี
เข้าร่วม : 18 ก.ค. 2553
รวมโพสต์ : 172
ให้สาธุการ : 225
รับสาธุการ : 275160
รวม: 275385 สาธุการ

 
ชอบวงนี้จังเลย  ไม่ใช่เพราะว่าการแสดงหรอกน๊ะครับ  ภาพรวมแล้วผมชอบวงนี้  ทั้งดนตรีและการแสดง  ชอบมากกกก  ไม่รู้เป็นไร  ชอบมากครับ  สู้ๆต่อไป  :)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 227 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 227 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2554 เวลา 23:09:25  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2 3

   

Creative Commons License
วงมูลมังฝั่งน้ำโขง โรงเรียนหนองคายวิทยาคาร --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ