ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
ปลาบ่ยินดีด้วยชลธาร์เขินขาด หงส์หากชมชื่นเต้าสะพังด้วยดอกบัว แปลว่า ปลาย่อมไม่ยินดีกับแหล่งน้ำที่ขาดน้ำ หงส์ ย่อมร่าเริงยินดีกับบึงน้ำที่มีดอกบัว หมายถึง สังคมที่ไร้ศีลธรรมย่อมอยู่ลำบาก สังคมที่มีศีลธรรมย่อมอยู่สบาย


  ค้นหาสาธุการ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1 2 3  
  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่26) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ภาษาเยอ จ.ศรีสะเกษ

       ภาษาเยอเป็นภาษาอยูในตระกูลมอญ-เขมร นัก ภาษาศาสตร์จัดภาษาเยอกับภาษากูยเป็นภาษาเดียวกัน มีการใช้คำศัพท์พื้นฐานร่วมกันมาก แต่มีความแตกต่างกันในเรื่องเสียงพยัญชนะและเสียงสระ   ภาษาเยอเป็นภาษาที่อ่อนไหวจากอิทธิพลภาษารอบข้าง  คือภาษาลาวและภาษาเขมรมาก  แต่ละหมู่บ้านเยอ ผู้พูดภาษาเยอจะพูดภาษาเขมร และ ภาษาลาว มีโอกาสทำให้ภาษาเยอสูญสลายได้ ภาษาเยอที่จังหวัดศรีสะเกษ มีพูดกันที่อำเภอต่างๆ ดังนี้ กิ่งอ.ศิลาลาด (บ้านกุง, บ้านขาม); อ.ราษีไศล ( บ้านกลาง (เชือก), บ้านจิก, บ้านหลุบโมก, บ้านดอนเรือ, บ้านบากเรือ, บ้านร่องโศก,บ้านใหญ่, บ้านกลาง, บ้านโนน, บ้านหว้าน); อ.เมืองศรีสะเกษ ( บ้านขมิ้น, บ้านโพนค้อ) และ อ.ไพรบึง(บ้านปราสาทเยอ, บ้านโพนปลัด) มีผู้พูดภาษาเยอคิดเป็นร้อยละ 1 ของประชากรทั้งจังหวัด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 921 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 921 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 13:51:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่33) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ภาษากวย/กูย/ส่วย จ.ศรีสะเกษ


นักภาษาศาสตร์จัดภาษาของชาวกูย อยู่ในกลุ่มภาษาเดียวกับมอญ - เขมร  สาขา Katuic ตะวันตก  ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาออสโตรเอเชียติก   ชาวกูยแต่ละถิ่น จะมีการใช้สำเนียงภาษาที่แตกต่างกันออกไป  แต่ถ้าใช้ระบบเสียงมาเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง จะแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มภาษากูย (กุย- กูย) และกลุ่มภาษากวย (กูย- กวย) ส่วนกลุ่มภาษากูยกลุ่มเล็กๆ ที่พบ ได้แก่

                1. กูยเยอ พูดกันในหมู่บ้าน 10 หมู่บ้านใน อ.เมืองศรีสะเกษ  5 หมู่บ้านใน อ.ไพรบึง และ 4 หมู่บ้านใน อ.ราษีไศล   รวมทั้งสิ้นประมาณ 8,000 คน

                2. กูยไม  พูดใน 5 หมู่บ้านใน อ.ราษีไศล    9 หมู่บ้านในบริเวณใกล้เคียงเขต อ.อุทุมพรพิสัย หมู่บ้านทั้งหมดนี้ชาวกูยจะอาศัยอยู่รวมกับชนกลุ่มลาว

                3. กูยปรือใหญ่  พูดใน 5 หมู่บ้านของ ต.ปรือใหญ่  อ.ขุขันธ์

ภาษากูยปรือใหญ่ สันนิษฐานว่า อาจเป็นตัวแทนของกลุ่มกูยที่เพิ่งอพยพมาจากเขมร จากบริเวณมะลูไปร (มโนไพร,มะลูเปร) ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของเมืองสตรึงเตรง ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมืองกำปงธม และเมืองกำปงสวาย  ส่วนกลุ่มภาษากุย-กูย ถือว่าเป็นประชากรกลุ่มใหญ ่กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ จ.ศรีสะเกษ  ในปัจจุบันชาวกูยส่วนใหญ่พูดได้ทั้งภาษากูยและภาษาไทยกลาง  ในชุมชนกูยที่ไม่มีคนพูดภาษาไทยถิ่นอีสานอาศัยปะปน  จะไม่มีการใช้ภาษาไทยถิ่นอีสาน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 549 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 549 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 16:32:48  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่29) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


การแต่งกายของชาวกูย
    ชาวกูยโดยเฉพาะสตรีชาวกูย เป็นผู้มีความสามารถในการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม เมื่อว่างเว้นจากอาชีพการทำนา ทำไร่แล้ว ก็จะปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อใช้ในการทอผ้าสำหรับไว้นุ่งห่มภายในครอบครัวของตนเอง ซึ่งการผลิตผ้าไหมนั้น ชาวกูยทำกันแบบครบวงจร คือทุกขั้นตอนจะทำด้วยมือของตนเอง ดังนั้นการแต่งกายของชาวกูยก็จะนิยมแต่งกายด้วยผ้าไหมพื้นเมืองเป็นหลัก
     ภูมิปัญญาในการกระบวนการผลิตผ้าไหม ได้รับการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งอย่างไม่ขาดสาย ทำให้หญิงสาวชาวกูยในอดีตแทบทุกคนมีฝีมือในการทอผ้าไหมเป็นอย่างดี ผ้านุ่งสำหรับสตรีชาวกูย นิยมเป็นผ้าไหมมัดหมี่ ผืนใหญ่เป็นไหมควบ พื้นสีน้ำตาลอมดำ ย้อมสีธรรมชาติ มีหัวซิ่นยืนพื้นสีแดงลายขิด ตีนซิ่นพื้นดำขนาด ๒- ๓ นิ้ว มีริ้วสีขาว เหลืองและแดง สตรีนิยมใส่เสื้อผ้าที่มีลายเฉพาะ คือผ้าไหมลายลูกแก้วย้อมสีธรรมชาติ (สีย้อมมะเกลือ) สีดำ คอกระเช้า การเย็บแบบแซวผ้าด้วยมือ ใส่สร้อยคอลูกปัดที่ทำด้วยเงินและพลาสติก ที่หูก็มักใส่ดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมไว้ที่ติ่งหู เช่นดอกมหาหงส์ (ดอกสเลเต) ส่วนชายชาวกูย นิยมใส่ผ้าโสร่งหรือผ้าขาวม้า หรือผ้าที่มีหูรูดและมีผ้าขาวม้าคาดเอว ที่ทอเหมือนหัวซิ่นแต่มีความกว้างมากกว่า มีลวดลายเอกลักษณ์โดยเฉพาะ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 543 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 543 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 14:08:52  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่105) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


       ปราสาทสระกำแพงน้อย สถาปัตยกรรมแบบบายน จังหวัดศรีสะเกษ
ปราสาทสระกำแพงน้อย ตั้งอยู่วัดสระกำแพงน้อย บ้านกลาง ตำบลขยุง  ปราสาทวัดสระกำแพงน้อยประกอบด้วยปรางค์และวิหารก่อด้วยศิลาแลง ด้านหน้าปรางค์มีสระน้ำใหญ่ ทั้งปรางค์ วิหาร และสระน้ำ ล้วนล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง เคยมีทับหลังประตูสลักเป็นพระวรุณเทพเจ้าแห่งฝนประทับบนแท่นมีหงส์แบก 3 ตัว อยู่เหนือเศียรเกียรติมุข เป็นศิลปะแบบบาปวนมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16

      สันนิษฐานว่าปราสาทหินแห่งนี้เดิมเป็นศาสนสถานมาก่อน แล้วต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 18 รัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อาจมีการบูรณะหรือสร้างเพิ่มเติมขึ้นใหม่ สังเกตได้จากมีสถาปัตยกรรมแบบบายนอยู่ด้วย สิ่งก่อสร้างดังกล่าวเรียกกันในสมัยนั้นว่า “อโรคยาศาล” หมายถึง สถานพยาบาล หรือสุขศาลาประจำชุมชนนั่นเอ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 542 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 542 ครั้ง
 
 
  23 เม.ย. 2553 เวลา 14:57:38  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่78) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


     ธาตุบ้านเมืองจันทร์ ต.เมืองจันทร์อ.เมืองจันทร์  จ.ศรีสะเกษ
โบราณสถานในวัดบ้านเมืองจันทร์แห่งนี้ถูกก่อด้วยอิฐสอปูนทั้งหมด สภาพโดยทั่วไปยังคงความสมบูรณ์อยู่มาก ใกล้องค์พระธาตุมีสิมเก่าก่อด้วยอิฐสอปูนขนาดพอกับ "พระธาตุบ้านปราสาท วัดปราสาทพนาราม" เนื่องจากมีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสและซุ้มประตูทั้งสี่ทิศ ส่วนบริเวณฐานปรักหักพังไปเล็กน้อยแต่เรือนธาตุและส่วนยอดยังคงสมบูรณ์อยู่ อีกทั้งมีการค้นพบว่าใช้ลวดลายปูนปั้นรูปกลีบบัวประดับอยู่บนหัวเสาติดผนังที่รองรับกรอบหน้าบัน ซึ่งเป็นศิลปะโบราณที่หาดูได้ยากยิ่ง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 493 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 493 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 14:29:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่31) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


การละเล่นของชาวกูย จ.ศรีสะเกษ


     การรำสะเองของชาวกูย (บางแห่งเรียกรำนางออ) เป็นการรำถวายแถน หรือผีฟ้า ที่ตัวผู้ป่วยได้บนบานเอาไว้ (เป็นประเพณีของชาวกวย) หรือมีบรรพบุรุษนับถือแถน จึงจัดรำสะเองเพื่อให้แถนปกป้องคุ้มครองต่อไป  ชาวกวยเชื่อว่า มีเชื้อสะเองอยู่ในร่างกาย และจะตกเป็นมรดกตกทอด  เช่นตกไปเป็นของลูกสาวคนโต (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 235-236)    

    ฟ้อนรำตำตะ  บ้านตะดอบ ต.ตะดอบ อ.เมือง ศรีสะเกษ  เป็นการฟ้อนของชาวกวยศรีสะเกษ เป็นการรำ ซึ่งจำลองท่าร่ายรำมาจากการตีเหล็กของชาวกวยบ้านตะดอบ  คิดค้นท่ารำโดยคณะครูโรงเรียนบ้านตะดอบ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 473 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 473 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 14:56:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่32) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


       ฟ้อนรำตำตะ  บ้านตะดอบ ต.ตะดอบ อ.เมือง ศรีสะเกษ  เป็นการฟ้อนของชาวกวยศรีสะเกษ เป็นการรำ ซึ่งจำลองท่าร่ายรำมาจากการตีเหล็กของชาวกวยบ้านตะดอบ  คิดค้นท่ารำโดยคณะครูโรงเรียนบ้านตะดอบ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 458 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 458 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 16:01:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่28) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


การตั้งถิ่นฐานชาวกวย/กูย/ส่วย จ.ศรีสะเกษ

      เนื่องจากชาวกูยตั้งถิ่นฐานปะปนอยู่กับชาวเขมรสูงและลาว   จึงมีการติดต่อ แลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ  สังคมและวัฒนธรรม ทำให้ชาวกูยถูกกลืนเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมเขมรและลาว  ดังจะเห็นได้จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์ เมื่อครั้งที่ตั้งเมืองสุรินทร์ใหม่ๆนั้นมีคนกูยทั้งเมือง  ชาวเขมรสูงมีปะปนบ้างเล็กน้อย  แต่นานวันเข้าวัฒนธรรมของเขมรสูง ก็เข้ามามีอิทธิพลเหนือวัฒนธรรมของชาวกูย  ชาวกูยจึงถูกกลืนเข้าไปเป็นคนเขมรเกือบหมด

      เมื่อ พ.ศ. 2450 ศรีสะเกษยังเป็นเมืองที่มีชาวกูยอาศัยอยู่กันทั้งเมือง  มีพวกลาวเวียง (สาขาเวียงจันทร์) ปะปนอยู่บ้างบางหมู่บ้าน  แต่ต่อมาวัฒนธรรมของชาวลาว ได้เข้ามามีอิทธิพลในหมู่บ้านชาวกูย  ทำให้เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรม  ชาวกูยที่นี่พูดภาษาลาวด้วยสำเนียงส่วยโดยสามารถใช้สระเอือได้   ในขณะที่ภาษาลาวเวียงมีแต่สระเอีย  ร่องรอยที่แสดงว่าศรีสะเกษ เคยเป็นเมืองที่ชาวกูยอยู่กันทั้งเมือง คือ สำมะโนประชากรในสมัยนั้น  และการเรียกขานชาวศรีสะเกษว่า ส่วยศรีสะเกษ อยู่จนทุกวันนี้  ด้วยสาเหตุที่จะดัดแปลงพัฒนาตนเองให้เข้ากับวัฒนธรรมที่ตนคิดว่าสูงกว่า ดีกว่า  จึงทำให้ภาษาและวัฒนธรรมของกูย  นับวันมีแต่จะหมดสิ้นไป

      ชาวกูยชอบอพยพเคลื่อนย้ายอยู่เสมอ  เพื่อแสวงหาที่ดินอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก  นอกเหนือจากอยู่ในประเทศกัมพูชาแล้ว  ชาวกูยยังมีมากในบริเวณเมืองอัตปือแสนปาง จำปาศักดิ์และสาละวัน  ในบริเวณตอนใต้ของลาว แต่เนื่องจากต้องประสบภัยธรรมชาติ เช่นน้ำท่วม ฝนแล้ง รวมทั้งภัยทางการเมือง  ชาวกูยจึงอพยพข้ามลำน้ำโขงเข้าสู่ภาคอีสาน โดยเฉพาะทางด้านแก่งสะพือ และในเขต อ.โขงเจียม (ซึ่งชาวกูยเรียกว่าโพงเจียงแปลว่าฝูงช้าง) หลังจากนั้นลูกหลานชาวกูย ก็แยกย้ายกันไปตั้งบ้านเรือน ที่บ้านนากอนจอ  ซึ่งเป็นภาษากูย แปลว่า บ้านนาลูกหมา ปัจจุบันคือบ้านวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี  ที่บ้านเจียงอี(แปลว่าช้างป่วย) ในเขตอ.เมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน   นับว่าในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ กูย  ลาว เขมร  ชาวกูยเป็นชนชาติดั้งเดิม ที่ตั้งหลักแหล่งอยู่ในพื้นที่ของอีสานใต้เป็นกลุ่มแรก

      การอพยพเข้ามาในประเทศไทย ทางตอนล่างของภาคอีสานนั้น เริ่มตั้งแต่สมัยพระนารายณ์มหาราช (2199-2231) และได้มีการอพยพเข้ามาครั้งใหญ่ใน จ.สุรินทร์ และศรีสะเกษอีก ในยุคปลายของกรุงศรีอยุธยาไปจนถึงสมัยธนบุรี ชาวกูยแต่ละกลุ่ม ที่อพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่ง หรือหาบริเวณล่าช้างแห่งใหม่ เพราะชาวกูยมีความชำนาญในการเดินป่า การล่าช้างและฝึกช้าง  การอพยพได้หยุดลงในสมัย ร. 4 ในเวลาต่อมาได้มีการโยกย้ายไปอยู่ยังจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ บุรีรัมย์ อุบลราชธานี นครราชสีมา และมหาสารคาม  ชาวกูยในจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษ เรียกหมู่บ้านชาวกูยที่ชาวกูยโยกย้ายไปว่าเป็น หมู่บ้านใหม่  การใช้ภาษาระหว่างชาวกูยกลุ่มเดิม และที่โยกย้ายยังคงมีความเข้าใจกันเป็นอย่างดี เพราะยังติดต่อกันอยู่(คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า31-34)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 449 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 449 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 14:00:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่3) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


เทศกาล งานประเพณีในจังหวัดศรีสะเกษ
  การแข่งขันวิ่งฮาล์ฟและควอเตอร์มาราธอนสู่ผามออีแดง
จัดขึ้นในวันอาทิตย์ สัปดาห์ที่สามของเดือนสิงหาคมของทุกปี บนเส้นทางขึ้นสู่เขาพระวิหาร ระหว่างหมู่บ้านภูมิซรอล-ผามออีแดง อำเภอกันทรลักษ์ เนื่องจากเป็นเส้นทางขึ้นเขาสู่ชายแดน ที่ต้องวิ่งฝ่าสายหมอกในช่วงปลายฤดูฝน จึงนับเป็นเส้นทางที่ท้าทายและเป็นสนามประลอง กำลังที่นักกีฬาวิ่งมาราธอนให้ความสนใจกันมาก

 
 
สาธุการบทความนี้ : 443 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 443 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2553 เวลา 16:58:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่85) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


     หน้าบันทิศเหนือ จำหลักเป็นรูปพระกฤษณะซึ่งเป็นเทพเคารพสำคัญองค์หนึ่งในศาสนาฮินดู กำลังยกเขาโควรรธนะ เป็นภาพจำหลักที่มักพบตามปราสาทขอมที่สำคัญ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 428 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 428 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 15:28:35  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่67) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ซุ้มประตูทางเข้าอุโบสถ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 423 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 423 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:53:55  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่55) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


      ตั้งอยู่ถนนอุบล ต.เมืองใต้ อ.เมือง ตั้งอยู่ภายในเขตเทศบาลเมือง ที่ถนนอุบล เป็นตึกเก่าของขุนอำไพพาณิชย์ (อินทร์ นาคสีหราช) คหบดีชาวศรีสะเกษ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2468 โดยช่างชาวจีนและชาวมอญ ตัวอาคารมีรูปทรงและลวดลายปูนปั้นที่งดงามตามคติความเชื่อของชาวจีน ได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดีจนได้รับรางวัลชนะเลิศโครงการดีเด่นการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมในเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2530  ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน (http://www.tat.or.th/thai/dl.php? province=33&region_id=4  accessed on 20/12/48 )

 
 
สาธุการบทความนี้ : 386 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 386 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:16:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่43) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


    ประเพณีป้อนข้าวเม่าพระจันทร์ (ไหว้พระจันทร์ หรือ สัมเปี๊ยเปรียะแค หรือ ปังออกเปรียะแค) ของชาวไทยเขมร ปัจจุบันยังมีการประกอบพิธี อยู่ทั่วไปในหมู่บ้านเก่าแก่ที่วัดในอีสานใต้ อาทิ บ้านสำโรงพลัน ต.สำโรงพลัน อ.ไพรบึง  บ้านไพรบึง บ้านจังกระดาน ต.ไพรบึง อ.ไพรบึง จ.ศรีสะเกษ แต่ที่โดดเด่นที่สุด คือ ที่บ้านพราน ต.พราน อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ เป็นพิธีทำบุญข้า่วเม่า เสี่ยงทายเทียนว่าฝนฟ้าจะตกต้องตามฤดูกาลหรือไม่  และเป็นการให้กำลังใจกับเกษตรกร  พิธีกรรมจะทำในคืนวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ชาวบ้านจะตำข้าวเม่า (ข้าวจ้าว) นำใส่ขันพร้อมกล้วย 1 หวี แล้วพากันไปที่วัดประกอบพิธีบูชาเทวดา เจริญพุทธมนต์ เสี่ยงทายฝน (ข้อมูลจากนายอุทัย สุภาพ เลขที่ 1 หมู่ 15 บ้านสำโรงพลัน ต.สำโรงพลัน อ.ไพรบึง จ.ศรีสะเกษ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 375 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 375 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 18:15:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่63) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


       วัดศรีบึงบูรพ์  ประดิษฐานพระพุทธชินราชจำลององค์ที่ 2 ของประเทศไทย
บ้านโนนสาวสวย ม.4  ต.บึงบูรพ์ อำเภอบึงบูรพ์  จังหวัด ศรีสะเกษ  
      
       วัดศรีบึงบูรพ์ ตั้งอยู่ริมลำน้ำห้วยทับทัน เป็นสถานที่ที่มีบรรยากาศ
สวยงามตามธรรมชาติ  เป็นสถานที่บำเพ็ญเพียรภาวนาของพระสงฆ์ที่มีประชาชนศรัทธา เลื่อมใส นั่นคือ   พระอาจารย์ศรี จันทร์สาโร  ซึ่งมีดำริที่จะสร้างพุทธสถาน      และเทวสถานในวัดศรีบึงบูรพ์ ให้เป็นพุทธสถานมรดกอีสานใต้          
นอกจากนี้วัดศรีบึงบูรพ์  ยังเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธชินราชจำลององค์ที่ ๒ ของประเทศไทยบรรยากาศภายในวัด สวยงามเป็นที่ตั้งของศาลเจ้าพ่ออุปราชเทวดาตามความเชื่อของชาวบึงบูรพ์ มีศาลาเรือนแก้ว  พระอุโบสถที่งดงามตระการตา ระหว่างพระอุโบสถกับศาลาเรือนแก้วที่สวยงาม มีเฮือส่วง (เรือแข่ง) ที่พระอาจารย์ศรี จันทสาโร  ได้มาจากอำเภอบ้านโป่ง เพื่อเป็นปรัชญาสอนให้คนบึงบูรพ์รักและสามัคคีกัน


ข้อมูลจาก :http://intranet.m-culture.go.th

 
 
สาธุการบทความนี้ : 367 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 367 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:49:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่114) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


วัดถ้ำสระพงษ์
    วัดถ้ำสระพงษ์ตั้งอยู่ภายในโครงการทับทิมสยาม 06 บ้านนาจะเรีย หมู่ที่ 13
อยู่ทางทิศใต้ของตำบลตั้งอยู่บนเทือกเขาพนมรัก มีทัศนียภาพที่สวยงาม ภาย
ในวัดมีน้ำตก และถ้ำ    

http://www.thaitambon.com/tambon/ttrvsrc.asp?sSearch=%C7%D1%B4&FL=sTravName&sprovcode=
33&showimg=1&ORDER=sTambCode&AD=ASC&search=%A4%E9%B9%CB%D2+%5BSearch%5D

 
 
สาธุการบทความนี้ : 358 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 358 ครั้ง
 
 
  23 เม.ย. 2553 เวลา 16:42:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่72) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


แท่นวางศิวลึงค์ ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 351 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 351 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 11:49:46  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่66) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


งามบักคัก

 
 
สาธุการบทความนี้ : 345 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 345 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:53:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่12) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


เผ่าส่วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 342 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 342 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 09:09:49  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่46) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


     กันตรึม กันตรึมเป็นวงดนตรีพื้นบ้านของอีสานใต้ กันตรึมหรือโจ๊ะกันตรึม ยังเป็นที่นิยม และมีบทบาทสำคัญตั้งแต่โบราณ จนถึงปัจจุบันสำหรับชาวอีสานใต้ เช่นเดียวกับหมอลำของชาวอีสานเหนือ ประวัติของการเล่นกันตรึมนี้ ไม่มีผู้ทราบที่มาอย่างแน่นอน แต่เชื่อว่าการละเล่นกันตรึมนี้ได้รับการถ่ายทอดมาจากขอม วงกันตรึมยังใช้แสดงในงานต่างๆ เสมอ เช่น งานบวช งานแต่งงาน งานศพหรืองานพิธีกรรมอื่น แต่จังหวะลีลาในการแสดง จะแตกต่างกันออกไปตามพิธีของแต่ละงาน โดยเฉพาะเครื่องดนตรีประกอบการแสดงกันตรึมก็จะแตกต่างกัน เช่น การแสดงในงานศพจะใช้ปี่อ้อมาบรรเลง แต่ถ้าเป็นงานแต่งงาน ก็จะใช้ปี่เตรียงหรือปี่เญ็นแทนปี่อ้อ ส่วนเนื้อร้องก็เปลี่ยนไปให้เหมาะสมกับแต่ละงาน

            การแต่งกายของนักดนตรี และนักร้องของวงดนตรีพื้นบ้านกันตรึม มักนิยมแต่งกาย  ตามสบาย หรือจะแต่งตามประเพณีนิยมของท้องถิ่นก็ได้

ข้อมูลจาก (http://www.isangate.com/ entertain/dance_03.htm Accessed on 12 July 2006)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 342 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 342 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 18:45:37  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่42) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


      ประเพณีเเซนโดนตา หรือสารทเขมร จัดขึ้นในวันขึ้น 14-15 ค่ำ เดือน 10 หมายถึงการเซ่นสรวงวิญญาณบรรพบุรุษ  เป็นวันที่อัญเชิญผีบรรพบุรุษทุกคน มารับประทานอาหารที่ลูกหลานจัดไว้  โดยมีพิธีส่งโดนตา  การรับโดนตา  และการเรียกโดนตา  โดนตามี 2 ประเภทคือ โดนตาเก่า และโดนตาใหม่ โดนตาใหม่ คือ การส่งโดนตาของหนุ่มสาวที่หมั้นกันแล้ว  แต่ยังไม่แต่งานกัน จะต้องส่งโดนตาให้กัน  เช่น ชายจะต้องส่งเครื่องใช้ในครัวเรือนให้หญิง   หญิงจะต้องส่งอาหารคาวหวานตลอดจนฟูกหมอน ผ้าขาวม้า โสร่งให้ชาย โดนตาเก่า  คือ การส่งโดนตาของครอบครัวที่มีลูกหลานแล้ว  นำอาหารต่างๆ ไปส่งไปไหว้ พ่อแม่ ปู่ย่าตายายที่ยังมีชีวิตอยู่ (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 240-244)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 324 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 324 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 18:12:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่61) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


มีหรอจะพลาด ไปถึงที่แล้วต้องถ่ายรูปครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 322 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 322 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:39:25  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่101) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


จารึกปราสาทสระกำแหงใหญ่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 319 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 319 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 19:49:57  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่108) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


วัดป่ามหาเจดีย์แก้ว (วัดล้านขวด)


     ตั้งอยู่ในเขตสุขาภิบาล การเดินทางจากศรีสะเกษไปอำเภอขุนหาญสามารถใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 211 และ 2111 ผ่านอำเภอพยุห์ อำเภอไพรบึงไปขุนหาญระยะทางประมาณ 61 กิโลเมตร สิ่งปลูกสร้างภายในตกแต่งด้วยขวดแก้วหลากสีหลายแบบนับล้านๆใบที่ชาวบ้านได้ช่วยกันบริจาค นับเป็นวัดที่มีลักษณะสวยงามแปลกตา โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาลาใหญ่ที่เรียกว่า ศาลาฐานสโม มหาเจดีย์แก้วซึ่ง มีความวิจิตรงดงามมาก ขณะนี้ได้มีการสร้างสิมน้ำ(โบสถ์) ที่มีลักษณะสวยงามซึ่งสร้างด้วยขวดทั้งหมด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 317 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 317 ครั้ง
 
 
  23 เม.ย. 2553 เวลา 15:21:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่24) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


วัฒนธรรมการแต่งกาย
      เยอจะมีการแต่งกายเป็นของตนเอง คือ ผู้ชายจะนุ่งผ้าโสร่งไหม หรือ ผ้าเข็น (เหน็บกะเตียว) เสื้อผ้าไหมเหยียบสีดำย้อมมะเกลือ  ผ้าข้าวม้าพาดบ่า ส่วนผู้หญิงนิยมนุ่งซิ่นคั่นไหมคู่กับเสื้อไหมเหยียบสีดำย้อมมะเกลือ  พร้อมด้วยผ้าสไบเบี่ยง   ปัจจุบันเยอมีการประยุกต์การแต่งกายให้เกิดความสวยงามตามสมัยนิย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 315 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 315 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 10:44:23  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่30) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


พิธีกรรมความเชื่อชาวกูย จ.ศรีสะเกษ

      ความเชื่อทางศาสนาของชาวกูย มีลักษณะผสมผสาน ระหว่างศาสนาพุทธและการนับถือผี  ภายในชุมชนของชาวกูย มีทั้งวัดและศาลผีประจำหมู่บ้าน  ชาวกูยบูชาผีบรรพบุรุษ  ซึ่งเรียกว่า ยะจัวะฮ  บนบ้านจะมีหิ้งบูชาผีบรรพบุรุษ  มีธูปเทียนและกรวยที่เย็บจากใบตอง  บางบ้านก็จะสร้างเป็นศาลผีบรรพบุรุษ ใกล้กับศาลเจ้าที่  บ้านที่ไม่มีหิ้งหรือศาล ก็อาจจะไปไหว้ผีบรรพบุรุษ ที่หิ้งหรือศาลของญาติพี่น้อง  บ้านส่วนใหญ่จะมีห้องบูชาพระพุทธรูปไว้ในบ้าน และจะสร้างศาลผีบรรพบุรุษไว้ใกล้บ้าน  การเซ่นผีบรรพบุรุษจะกระทำอย่างน้อยปีละครั้ง  ชาวบ้านจะเริ่มพิธีโดยการเอาข้าวสุก เหล้า เนื้อสัตว์ที่สุกแล้ว กรวยใบตอง  ผ้า  สตางค์ หมาก พลู  เอามาวางไว้ใต้หิ้งบูชา  ทำพิธีเซ่นโดยการโรยน้ำตาลลงบนข้าวสุก จุดเทียนปักลงที่ข้าว  แล้วกล่าวขอให้ผีบรรพบุรุษคุ้มครอง ให้ครอบครัวเจริญรุ่งเรือง  ในขณะที่กล่าวก็เอาเหล้าค่อยๆรินลงขันอีกใบ   เหมือนการกรวดน้ำ เสร็จแล้วก็หยิบของที่ใช้เซ่นอย่างละนิด ไปวางบนหิ้ง ที่เหลือก็เอาไว้รับประทานและใช้เอง

การเซ่นผีบรรพบุรุษนี้อาจจัดขึ้นในวาระอื่นๆ เช่น เมื่อมีเด็กคลอดได้ 2-3 วันก็จะทำพิธีดับไฟ  โดยบอกกล่าวหมอตำแย และให้ญาติผู้ใหญ่มาร่วมพิธี จัดขนมกล้วย ข้าวต้มมัด  มาเซ่นผีบรรพบุรุษบอกว่ามีลูกหลานมาเกิดใหม่ เด็กเมื่อคลอดเเล้ว จะมีครูกำเนิด  ซึ่งเป็นครูประจำตัว จะต้องจัดเครื่องสักการะบูชาครูไว้บนหัวนอนของตนเสมอ  ครูจะช่วยคุ้มครองให้มีความสุข  ความเจริญ หากผิดครูจะเป็นอันตราย (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 35)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 310 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 310 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 14:39:20  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่97) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


เทวรูปพระศิวะ จำลองครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 309 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 309 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 19:43:47  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่6) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ประเพณีแซนโดนตา
      อำเภอขุขันธ์เดิมเป็นที่ตั้งของบริเวณเมืองขุขันธ์ ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่อายุกว่า 200 ปี เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของคนไทยหลายเชื้อสาย หลายภาษา เช่น เขมร ลาว ส่วย เยอ จีน เป็นต้น มีจารีตประเพณีและวัฒนธรรมที่งดงามของท้องถิ่นอยู่เป็นจำนวนมาก และหนึ่งในจำนวนนั้น ก็คือ ประเพณีแซนโดนตา ซึ่งเป็นประเพณีเซ่นไหว้บรรพบุรุษของคนไทยเชื้อสายเขมร โดยคนไทยกลุ่มดังกล่าวได้ยึดถือปฏิบัติกันมาแต่ดั้งเดิม เนื่องจากอำเภอขุขันธ์มีคนไทยเชื้อสายเขมร อยู่เป็นจำนวนมาก บรรดาลูกหลานที่ไปทำงานต่างถิ่นจะกลับมาร่วมพิธีเซ่นไหว้ที่บ้านเป็นประจำทุกปี แต่การแซนโดนตาได้กระทำกันในครอบครัว บางครอบครัวที่เป็นคนรุ่นใหม่เริ่มขาดความรู้ความเข้าใจในพิธีกรรมดังกล่าว ชาวอำเภอขุขันธ์จึงได้จัดงานประเพณีแซนโดนตาขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา เพื่อเป็นการสืบสาน พัฒนาและส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีในท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 307 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 306 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2553 เวลา 17:40:20  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่19) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


การตั้งถิ่นฐานของชาวจังหวัดศรีสะเกษ

ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา

       ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดศรีสะเกษ
ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฎหลักฐานแน่นอน มีการจดบันทึกไว้พอสังเขป ส่วนมากได้จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุเล่าต่อๆ กันมา เอาความแน่นอนไม่ได้นัก นักประวัติศาสตร์
และนักโบราณคดีสันนิษฐานว่า พื้นที่ภาคอีสานในปัจจุบันเคยเป็นที่อยู่ของพวกละว้าและลาว มีแว่นแคว้นอาณาเขตปกครองเรียกว่า "อาณาจักรฟูนัน"ประมาณปี พ.ศ.1100 พวกละว้าที่เคยมีอำนาจปกครอง อาณาจักรฟูนันเสื่อมอำนาจลง ขอมเข้ามามีอำนาจแทนและตั้งอาณาจักรเจนละหรืออิศานปุระขึ้น พวกละว้าถอยร่นไปทางเหนือ ปล่อยให้พื้นที่ภาคอีสานรกร้างว่างเปล่าเป็นจำนวนมากเขตพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียงจึงถูกทิ้งให้เป็นที่รกร้างและเป็นป่าดง ขอมได้แบ่งการปกครองเป็น 3 ภาคโดยมีศูนย์การปกครองอยู่ที่ละโว้(ลพบุรี) พิมาย(นครราชสีมา)และสกลนคร มีฐานะเป็นเมืองประเทศราช ขึ้นตรงต่อศูนย์กลางการปกครองใหญ่ที่นครวัด
       ในยุคที่ขอมเรืองอำนาจ ศรีสะเกษน่าจะเป็นดินแดนแห่งหนึ่งที่ขอมใช้เป็นเส้นทางไปมาระหว่างเมืองประเทศราชดังกล่าวแล้ว เพราะปรากฎโบราณสถานโบราณวัตถุของขอมซึ่งกรมศิลปากรสำรวจในจังหวัดศรีสะเกษเมื่อ พ.ศ.2512 จำนวน15 แห่ง ไม่รวมเขาพระวิหารซึ่งเป็นเทวะสถานของขอมที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีปราสาทหินสระกำแพงใหญ่
สระกำแพงน้อย ปราสาทลุมพุก ปราสาทบ้านทามจาน(บ้านสมอ)ปราสาทเยอ ปราสาทโดนต็วล (ช่องตาเฒ่า อ.กันทรลักษ์) สันนิษฐานว่าโบราณสถานเหล่านี้มีอายุประมาณ 1,000 ปีเศษ  มีอยู่ตามท้องที่อำเภอต่างๆ ของจังหวัดศรีสะเกษ ขอมคงสร้างขึ้น เพื่อเป็นที่พักและประกอบพิธีทางศาสนาระหว่างเดินทางจากนครวัด นครธมข้ามเทือกเขาพนมดงรักษ์มาสู่ศูนย์กลางการปกครองภาคอีสานทั้ง 3 เมืองดังกล่าวแล้ว เมื่อขอมเสื่อมอำนาจลง ไทยเริ่มมีอำนาจครอบครองดินแดนเหล่านี้ ขณะเดียวกันจังหวัดศรีสะเกษมีสภาพเป็นป่าดงอยู่นาน
เพราะแม้แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางก็มิได้บันทึกกล่าวถึงจังหวัดศรีสะเกษในเอกสารใด เพิ่งจะได้มีการบันทึกหลักฐานในพงศาวดารกล่าวถึงเมืองสุรินทร์ด้วย

สมัยกรุงศรีอยุธยา
     ในสมัยกรุงศรีอยุธยาอาณาจักรไทยกว้างขวางมาก มีชาวบ้านป่าซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ( MINORITY TRIBE )อาศัยอยู่แถบเมืองอัตปือแสนแป แคว้นจำปาสักฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปัจจุบัน ชนพวกนี้เรียกตัวเองว่า "ข่า" ส่วย" "กวย" หรือ "กุย" อยู่ในดินแดนของราชอาณาจักรไทย โดยสมบูรณ์ (เพิ่งเสียให้ฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ.2436หรือ ร.ศ.112) พากนี้มีความรู้ความสามารถในการจับช้างป่ามาเลี้ยงไว้ใช้งาน ชาวส่วยหรือชาวกวยได้อพยพย้ายที่ทำมาหากินข้ามมาฝั่งขวาแม่น้ำโขง เนื่องจากชาวเมืองศรีสัตนาคนหุต(เวียงจันทน์) ได้เข้าไปตั้งถิ่นฐานแย่งที่ทำมาหากิน
     ในปี พ.ศ.2260 ชาวส่วยได้อพยพแยกออกเป็นหลายพวกด้วยกัน แต่ละพวกมีหัวหน้าควบคุมมา เช่น เซียงปุม เซียงสีเซียงสง ตากะจะและเซียงขัน เซียงฆะ เซียงไชย หัวหน้าแต่ละคนก็ได้หาสมัครพรรคพวกไปตั้งรกรากในที่ต่าง ๆ กัน เวียงปุม
อยู่ที่บ้านที เซียงสีหรือตะกะอาม อยู่ที่รัตนบุรี เซียงสง
อยู่บ้านเมือลีง (อำเภอจอมพระ) เซียงฆะ อยู่ที่สังขะ เวียงไชย
อยู่บ้านจารพัด (อำเภอศรีขรภูมิ) ส่วนตากะจะและเซียงขัน อยู่ที่บ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน(บ้านดวนใหญ่ปัจจุบัน)
     พวกส่วยเหล่านี้อยู่รวมกันเป็นชุมชนใหญ่ หาเลี้ยงชีพด้วยการเกษตรและหาของป่ามาบริโภคใช้สอย มีการไปมาหาสู่ติดต่อกันระหว่างพวกส่วยอยู่เสมอ มีสภาพภูมิประเทสติดต่อเขตกัมพูชา และมีเทือกเขาพนมดงรักเป็นเส้นกันเขตแดน ป่าดงเขตนี้มีฝูงสัตว์ป่าอุดมสมบูรณ์ โขลงช้างพัง ชางพลาย ฝูงเก้งกวาง ละมั่งและโคแดงอยู่มากมายตามทุ่งหญ้าและราวป่า เหมาะกับการทำมาหาเลี้ยงชีพของชาวส่วยอย่างยิ่ง
     พ.ศ.2302 ปีเถาะ จุลศักราช 1181 ตรงกับสมัยแผ่นดินพระบรมราชาที่ 3 หรือพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยอัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) กษัตริย์องค์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยา พระยาช้างเผือกของพระองค์ได้แตกออกจากโรงช้างต้นในกรุงศรีอยุธยา เดินทางมาทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โปรดให้ทหารเอกคู่พระทัยสองพี่น้อง (เข้าใจว่าสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พระนามเดิมทองด้วง และกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิมบุญมา) คุมไพร่พล 30 นาย ออกติดตามผ่านมาแขวงพิมาย ทราบจากเจ้าเมืองพิมายว่า ในดงริมเขาพนมดงรักมีพวกส่วยชำนาญใชการจับช้าง เลี้ยงช้าง สองพี่น้องกับไพร่พล จึงได้ติดตามสองพี่น้องไปเซียงสีไปที่บ้านกุดหวาย (อำเภอรัตนบุรี) เซียงสีจึงได้พาสองพี่น้องและไพร่พลไปตามหาเซียงสง ที่บ้านเมืองลีง เซียงปุ่มที่บ้านเมืองที เซียงไชยที่บ้านกุดปะไท ตากะจะและเซียงขัน ที่บ้านโคกลำดวน เซียฆะที่บ้านอัจจะปะนึง (เขตอำเภอสังขะ) ทุกคนร่วมเดินทางติดตามพระยาช้างเผือก สองพี่น้องและหัวหน้าป่าดงทั้งหมด ได้ติดตามล้อมจับพระยาช้างเผือกได้ที่บ้านหนองโชก ได้คืนมาและนำส่งถึงกรุงศรีอยุธยา ด้วยความดีความชอบในครั้งนี้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสุริยอัมรินทร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้หัวหน้าบ้านป่าดงมีบรรดาศักด์ทั้งหมด ตากะจะหัวหน้าหมู่บ้านโคกลำดวน ได้เป็นหลวงแก้วสุวรรณเซียงขันได้เป็นหลวงปราบอยู่กับตากะจะ  ต่อมาหัวหน้าหมู่บ้านป่าดงทั้ง 5 ได้พากันไปเฝ้าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ กรุงศรีอยุธยา โดยนำสิ่งของไปทูลเกล้าฯ ถวาย คือ  ช้าง ม้า
แก่นสน ยางสน ปีกนก นกระมาด (นอแรด) งาช้าง ขี้ผึ้งน้ำผึ้ง เป็นการส่งส่วยตามพระราชประเพณี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยามรินทร์ ทรงพิจารณาเห็นความดีความชอบ  เมื่อครั้งได้ช่วยเหลือจับพระยาช้างเผือก และเมื่อหัวหน้าหมู่บ้านได้นำสิ่งของไปทูลเกล้าฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งบรรดาศักดิ์ให้หัวหน้าหมู่บ้านสูงขึ้นทุกคน
     ในปี พ.ศ.2302 นี้เอง หลวงแก้วสุวรรณ(ตากะจะ) บ้านโคกลำดวนได้บรรดาศักดิ์เป็นเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนมีพระบรมราชโองการยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน ซึ่งเดิมเรียกว่า "เมืองศรีนครลำดวน" ขึ้นเป็นเมืองขุขันธ์แปลว่า "เมืองป่าดง" ให้พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเป็นเจ้าเมืองปกครอง

สมัยกรุงธนบุรี
     เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในปี พ.ศ.2310 แล้ว สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงกอบกู้อิสรภาพและทรงตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี
     พ.ศ.2321 ปีจอ จุลศักราช 1140 กรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์)เป็นกบฎต่อไทย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าพระยาสุรสียห์เป็นแม่ทัพยกขึ้นไปทางเมืองพิมายแม่ทัพสั่งให้เจ้าเมืองพิมายแต่งข้าหลวงออกมาเกณฑ์กำลังเมืองประทายสมันต์ (จังหวัดสุรินทร์) เมืองสังฆะ เมืองขุขันธ์ เมืองรัตนบุรี เป็นทัพบกยกไปตีเมืองเวียงจันทน์ เมืองจำปาศักดิ์ ได้ชัยชนะยอมขึ้นต่อไทยทั้งสองเมือง กองทัพไทยเข้าเมืองเวียงจันทน์ ได้อัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบางพร้อมคุมตัวนครจำปาศักดิ์ไชยกุมารกลับกรุงธนบุรีในการศึกครั้งนี้เมื่อเดินทางกลับ หลวงปราบ(เซียงขัน) ทหารเอกในกองทัพ ได้หญิงไม่ชาวลาวคนหนึ่งกลับมาเป็นภรรยา มีบุตรชายติดตามมาด้วยชื่อท้าวบุญจันทน์
     พ.ศ.2324 เมืองเขมรเกิดจราจล สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกับพระยาสุรสีห์ ได้รับพระบรมราชโองการให้เป็นแม่ทัพยกกองทัพไปปราบจราจลครั้งนี้ โดยเกณฑ์กำลังของเมืองปะทายสมันต์ เมืองขุขันธ์ และเมืองสังฆะ สมทบกับกองทัพหลวงออกไปปราบปราม กองทัพไทยยกไปตีเมืองเสียมราฐ กำพงสวาย บรรทายเพชร บรรทายมาศ
และเมืองรูงตำแรย์(ถ้ำช้าง) เมืองเหล่านี้ยอมแพ้ ขอขึ้นเป็นขอบขัณฑสีมา เสร็จแล้วยกทัพกลับกรุงธนบุรี
     เมื่อเสร็จสงครามเวียงจันทน์ และเมืองเขมรแล้ว ได้ปูนบำเหน็จให้แก่เจ้าเมืองปะทายสมันต์ เมืองขุขันธ์ และเมืองสังฆะ เลื่อนบรรดาศักดิ์ให้เป็นพระยาให้พระยาทั้งสามเมือง เจ้าเมืองขุขันธ์ ได้บรรดาศักดิ์ใหม่ จากพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน เป็นพระยาขุขันธ์ภักดี ในปีเดียวกันนั้นเอง พระยาขุขันธ์ภักดี(ตากะจะ) ถึงแก่อนิจกรรมจึงโปรดให้หลวงปราบ (เซียงขัน) ขึ้นเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน เจ้าเมืองขุขันธ์ ต่อมาเมืองขุขันธ์ที่บ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวนกันดารน้ำ พระยาไกรภักดีฯ จึงอพยพเมืองย้ายมาอยู่บ้านแตระ (แตระ)ตำบลห้วยเหนือ ที่ตั้งอำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
     พ.ศ.2325 ปีขาล จุลศักราช 1144 พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ    พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(เซียงขัน) ได้บรรดาสักดิ์เป็นพระยาขุขันธ์ภักดี ได้มีใบบอกกราบบังคมทูลข้อตั้งท้าวบุญจันทร์ เป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน ผู้ช่วยเจ้าเมือง อยู่มาวันหนึ่ง พระยาขุขันธ์ภักดี เผลอเรียกพระยาไกรภักดีฯ(บุญจันทร์) ว่า"ลูกเชลย" พระยาไกรภักดีจึงโกรธและผูกพระยาบาทภายหลังมีพ่อค้าญวน 30 คน มาซื้อโคกระบือที่เมืองขุขันธ์ พระยาขุขันธ์ภักดีอำนวยความสะดวกและจัดที่พักให้ญวนตลอดจนให้ไพร่นำทางไปช่องโพย ให้พวกญวนนำโค กระบือ ไปยังเมืองพนมเปญได้สะดวก พระยาไกรภักดีฯ (บุญจันทร์) ได้กล่าวโทษมายังกรุงเทพฯ และโปรดเกล้า ให้เรียกตัวพระยาขุขันธ์ไปลงโทษและจำคุกไว้ที่กรุงเทพฯ แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระยาไกรภักดีฯ(บุญจันทร์) เป็นเจ้าเมืองขุขันธ์แทน
     ในปี พ.ศ.2325 นี้ พระภักดีภูธรสงคราม(อุ่น) ปลัดเมืองขุขันธ์ กราบบังคมทูลขอแยกจากขุขันธ์ไปตั้งที่บ้านโนนสามขาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านโนนสามขาขึ้นเป็นเมือง "ศรีสระเกศ" ต่อมาปี พ.ศ.2328ได้ย้ายเมืองศรีสระเกศจากบ้านโนนสามขา มาตั้ง ณ บ้านพันทาเจียงอีอยู่ในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษทุกวันนี้
     พ.ศ.2342 มีโปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์กำลังเมืองสุรินทร์ เมืองขุขันธ์ เมืองสังฆะ เมืองละ 100 รวม 300 ยกทัพไปตีพม่าซึ่งยกมาตั้งในเขตนครเชียงใหม่ กองทัพไทยมิทันไปถึง กองทัพพม่าก็ถอยกลับ จึงโปรดเกล้าฯให้กองทัพไทยยกกลับ
     พ.ศ.2350 ทรงพระราชดำริว่า เมืองสุรินทร์ เมืองสังฆะ และเมืองขุขันธ์ เป็นเมืองเคยตามเสด็จพระราชดำเนินในการพระราชสงครามหลายครั้งมีความชอบมาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ทั้ง 3 เมือง ขึ้นตรงต่อกรุงเทพฯ มีอำนาจชำระคดีได้เอง ไม่ต้องขึ้นต่อเมืองพิมายเหมือนแต่ก่อน
     พ.ศ.2369 รัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าอนุวงศ์ เมืองเวียงจันทน์แต่งตั้งให้เจ้าอุปราช(สีถาน) กับเจ้าราชวงศ์เมืองเวียงจันทรน์ คุมกองทัพบกเข้าตีเมืองรายทางเข้ามาจนถึงเมืองนครราชสีมา ฝ่ายทางเมืองจำปาศักดิ์ เจ้านครจำปาศักดิ์(เจ้าโย่) เกณฑ์กำลังยกทัพมาตีเมืองขุขันธ์จับพระไกรภักดีศรีนครลำดวน (บุญจันทร์) เจ้าเมืองขุขันธ์ กับพระภักดีภูธรสงคราม (มานะ) ปลัดเมืองกับพระแก้วมนตรี(ทศ)ยกกระบัตรกับกรมการได้ ฆ่าตายทั้งหมด เจ้าเมืองสังฆะ และเมืองสุรินทร์หนีได้ทัน กองทัพจำปาศักดิ์ ตั้งค่ายอยู่ที่บ้านส้มป่อย แขวงเมืองขุขันธ์ค่ายหนึ่ง และค่ายอื่น ๆ สี่ค่าย กวาดต้อนครอบครัวไทยเขมรไปเมืองจำปาศักดิ์ จากนั้นมาเมืองขุขันธ์ ไม่มีข้าราชการปกครอง โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสังฆะ ไปเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเจ้าเมือง ให้พระไชยเป็นพระภักดีภูธรสงครามปลัดเมือง ให้พระสะเทื้อน (นวน) เป็นพระแก้วมนตรียกกระบัตรเมือง ให้ท้ายหล้า บุตรพระยาขุขันธ์(เซียงขัน) เป็นมหาดไทยช่วยกันรักษาเมืองขุขันธ์ต่อไป จากนั้นมาได้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเจ้าเมืองและนามเจ้าเมืองหลายครั้ง
     พ.ศ.2426 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาขุขันธ์(ปัญญา) เจ้าเมืองกับพระปลัด(จันลี) ได้นำช้างพังสีประหลาดหนึ่งเชือกลงมาน้อมเกล้าฯ ถวายที่กรุงเทพฯ
     พ.ศ.2433 มีสารตราโปรดเกล้าฯ ให้เมืองศรีสระเกศ(ชื่อเดิม) ไปอยู่ในบังคับบัญชาของข้าหลวงใหญ่ได้โปรดให้หลวงจำนงยุทธกิจ(อิ่ม)กับขุนไผทไทยพิทักษ์(เกลื่อน) เป็นข้าหลวงเมืองศรีสะเกษ
     พ.ศ.2435 โปรดเกล้าฯ ให้จัดรูปการปกครองแบบมณทลเมืองศรีสะเกษขึ้นอยู่กับเมณฑลอีสานกองบัญชาการมณฑลอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธาณี
     พ.ศ.2445 เปลี่ยนชื่อมณฑลอีสานเป็น มณฑลอุบลมีเมืองขึ้น 3 เมืองคืออุบลราชธานี ขุขันธ์ และสุรินทร์ ไม่ปรากฎชื่อเมืองศรีสะเกษสันนิษฐานว่าเมืองศรีสะเกษถูกยุบลงเป็นอำเภอขึ้นกับเมืองขุขันธ์ซึ่งเป็นเมืองเก่ามาแต่เดิม
     พ.ศ.2447 ย้ายที่ตั้งเมืองขุขันธ์ (ซึ่งอยู่ที่บ้านแตระ ตำบลห้วยเหนืออำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน) มาอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า(ปัจจุบันคือตำบลเมืองเหนือในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน) และยังคงใช้ชื่อ"เมืองขุขันธ์" ยุบเมืองขุขันธ์เดิมเป็นอำเภอห้วยเหนือ(อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบันนี้)
     พ.ศ.2459 กระทรวงมหาดไทย มีประกาศให้เปลี่ยนชื่อเมืองทุกเมืองเป็นจังหวัด เมืองขุขันธ์จึงเป็นเป็นจังหวัดขุขันธ์ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2459 เปลี่ยนผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด
     พ.ศ.2481 มีพระราชกฤษฎีกา เปลี่ยนชื่อจังหวัดขุขันธ์ เป็นจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน    


-------------------->>>>>>-----<<<<<<<<<----->>>>>>>>>----------------
ที่มา: หนังสือ งานวันดอกลำดวนบาน 17-18 มีนาคม 2532
ครั้งที่พิม์ : พิมพ์ครั้งที่ 3
ปีที่พิมพ์: กุมภาพันธ์ 2532
จำนวนพิมพ์ :1,500 ฉบับ
พิมพ์ที่ :บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด 413/27-36
อรุณอมรินทร์ บางกอกน้อย กทม.10700 โทร.4242800-1
นายชูเกียรติ อุทกะพันธุ์ ผู้พิมพ์โฆษณา
ผู้จัดพิมพ์: สำนักงานจังหวัดศรีสะเกษและศูนย์วัฒนธรรม
จังหวัดศรีสะเกษ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 307 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 306 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 09:56:09  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่4) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


งานเทศกาลดอกลำดวน
จัดขึ้นเป็นประจำระหว่างวันที่ ๑๕-๑๗ มีนาคมของทุกปี ณ สวนสมเด็จศรีนครินทร์ เป็นช่วงที่ดอกลำดวนในสวนกำลังบาน ภายในงานประกอบด้วยการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านสี่เผ่า คือ เขมร ส่วย ลาว เยอ การออกร้านจำหน่ายสินค้าหัตถกรรม สินค้าพื้นเมือง การแสดงละครประกอบแสงเสียงตำนานการสร้างเมือง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 306 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 306 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2553 เวลา 17:26:26  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่112) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ปราสาทกุด (ปราสาทวัดโพธิ์พฤกษ์)
     ตั้งอยู่ในเขตวัดโพธิ์พฤกษ์ บ้านเจ๊ก ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นโบราณสถานก่อด้วยอิฐ ปัจจุบันอยู่ในสภาพพังทลายกลายเป็นเนินโบราณสถาน มีลักษณะเป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนเนินดินใหญ่ ผนังแต่ละด้านจะก่ออิฐเป็นช่องคล้ายประตู แต่ก่ออิฐทึบทั้งหมด ส่วนยอดหักพังลงมาจนถึงเรือนธาตุ โบราณสถานแห่งนี้สันนิษฐานว่าคงสร้างขึ้นสมัยอยุธยาตอนปลายหรือราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓–๒๔    

http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/sisaket4.htm

 
 
สาธุการบทความนี้ : 306 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 306 ครั้ง
 
 
  23 เม.ย. 2553 เวลา 16:28:00  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่15) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


เผ่าเยอ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 305 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 305 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 09:22:55  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่35) บืนข้อมูลเจารูเหงียน้อ คืออิหยังน้อ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 
บืนข้อมูลเจารูเหงียน้อ แปลว่าอะไรหรอครับ


ผมอยู่เผ่าลาวครับ  เว้าเขมรบ่ได้



รบกวนช่วนแปลให้หน่อยนะคัรับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 304 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 304 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 17:05:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่44) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


การละเล่นของชาวไทยเขมร จ.ศรีสะเกษ

      เรือมตร๊ด (รำตรุษหรือลังตร๊ด) เป็นของไทยเขมร นิยมเล่นตอนออกพรรษา งานกฐิน วันตรุษสงกรานต์ ขึ้น 13 ค่ำ 14 ค่ำ 15 ค่ำ เดือน 5  เพื่อบอกบุญ โดยตระเวนเล่นไปตามหมู่บ้านต่างๆ เพื่อบอกบุญขอบริจาคทรัพย์สมทบกองทุนผ้าป่า กองดอกไม้ กองกฐิน ผู้รำจะเดินเป็นแถว จำนวน ๑๕ - ๒๐ คน เดินไปตามบ้านเหมือนกับการเซิ้งแผ่เงิน(เรี่ยไร) การแต่งกายสวมชุดพื้นเมืองเช่น ผ้าโสร่ง สวมเสื้อหลากสี  ปัจจุบันยังมีการละเล่นอยู่ที่หมู่บ้านสำโรงพลัน หมู่ที่ 1, 13, 15 ต.สำโรงพลัน อ.ไพรบึง  โดยเฉพาะที่บ้านสำโรงพลัน หมู่ 15 ผู้เข้าร่วมพิธีประกอบไปด้วย  1. ทายก ทายิกา 2-3 คน ถือพานดอกไม้ ธูป เทียน ขอรับบริจาคเงิน  2.กลุ่มผู้ร้องและเล่นดนตรี ได้แก่ ขลุ่ย กลองโทน ฆ้องกระแต กันชันร (เครื่องเคาะจังหวะชนิดหนึ่ง) คนร้องเจรียง 1-2 คน ลูกคู่ 3-4 คน นางรำประกอบ (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 173 ; ข้อมูลจากนายอุทัย สุภาพ เลขที่ 1 หมู่ 15 บ้านสำโรงพลัน ต.สำโรงพลัน อ.ไพรบึง จ.ศรีสะเกษ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 303 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 303 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 18:18:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่90) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


     พระนาคปรกใหญ่ที่สุดในโลก หน้าตักกว้าง ๗.๕ ม. วัดสระกำแพงใหญ่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 299 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 299 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 15:43:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่96) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ซุ้มประตูทางเข้าวัดสระกำแพงใหญ่  เป็นศิลปะขอม สวยมากครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 299 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 299 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 19:41:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่107) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


พระพุทธบาทภูฝ้าย
       ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 บ้านภูฝ้าย ต.ภูฝ้าย อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ พระพุทธบาทภูฝ้าย ตั้งอยู่บนเขาภูฝ้ายโดยการสร้างจำลองขึ้นของพระในวัดบนภูเขาภูฝ้ายขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร ในทุก ๆ ปี  จะมีราษฎรจากตำบลต่าง ๆ ไปทำบุญ และกราบไหว้เป็นประจำทุกปี ปัจจุบันบนเขาภูฝ้ายได้จดทะเบียนจากกรมศิลปากร พื้นที่ 1,415 ไร่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่บนภูเขาสูง มีสำนักสงฆ์ 1 แห่ง พระภิกษุ 2 รูป สระน้ำที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และรอยพระพุทธบาทจำลอง
ตลอดจนสัตว์ป่า เช่นลิง


http://www.thaitambon.com/tambon/ttrvplist.asp?ID=330416&page=9

 
 
สาธุการบทความนี้ : 299 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 299 ครั้ง
 
 
  23 เม.ย. 2553 เวลา 15:10:44  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่7) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


        ศรีสะเกษเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคอีสานตอนล่างที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน เคยเป็นชุมชนที่มีอารยธรรมรุ่งเรืองมานับพันปี นับตั้งแต่สมัยขอมเรืองอำนาจ และมีชนเผ่าต่างๆ อพยพมาตั้งรกรากในบริเวณนี้ ได้แก่ พวกส่วย ลาว เขมร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 296 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 296 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2553 เวลา 19:11:13  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่64) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


พญานาค ทางเข้าสู่อุโบสถ เป็นศิลปะที่สวยงาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 294 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 294 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:51:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่56) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


พระธาตุเรืองรอง  ศิลปผสมผสานสี่เผ่าไทย
   พระธาตุเรืองรอง เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่ ประชาชนชาวพุทธศาสนา ให้ความเคารพสักการะ บูชา โดยพระธาตุเรืองรอง ตั้งอยู่ที่วัดบ้านสร้างเรือง ตำบลหญ้าปล้อง อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากตัวเมืองศรีสะเกษ ไปทางทิศเหนือ ประมาณ 7.5 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 2373 สายศรีสะเกษ-ยางชุมน้อย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 292 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 292 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:24:05  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่109) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ปราสาทปรางค์กู่
     ตั้งอยู่ที่บ้านกู่ ตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ อยู่ห่างตัวอำเภอประมาณ ๕ กิโลเมตร ปราสาท
     ปรางค์กู่สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ สมัยที่ขอมเรืองอำนาจในระยะเวลาที่ใกล้เคียงกับการสร้างปราสาทหินเขาพระวิหาร ปราสาทศีขรภูมิ และปราสาทสระกำแพงใหญ่ เพื่อเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์  ปราสาทปรางค์กู่มีลักษณะเป็นปรางค์ ๓ องค์ สร้างเป็นแนวจากเหนือไปใต้ อยู่บนฐานเนินดินขนาดใหญ่ก่อด้วยอิฐ และอิฐปนศิลาแลง ปรางค์แต่ละองค์มีประตูเข้าได้เฉพาะทิศตะวันออกอีก ๓ ทิศ เป็นประตูหลอก
ปราสาทปรางคู์กู่เป็นศาสนสถานสมัยขอมที่เก่าแก่มากมีอายุนับพันปีมาแล้ว ด้านหน้าปรางค์มีสระน้ำขนาดใหญ่เป็นที่พักอาศัยของนกเป็ดน้ำซึ่งมาอาศัยในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ที่มีขนาดใหญ่และสูงมาก

 
 
สาธุการบทความนี้ : 291 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 291 ครั้ง
 
 
  23 เม.ย. 2553 เวลา 15:37:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่37)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 
ก็หาอยู่หลายที่ครับ

จากสถานที่จริงบ้า จากหนังสือ จากเว็บบ้างครับ


อิอิอิ



แล้วอยู่อำเภออะไรหรอครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 290 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 290 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 11:38:55  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่58) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


   สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา เป็นสวนสาธารณะทีีเป็นเกาะกลางลำน้ำห้วยน้ำคำ ซึ่งจะมีปรางค์ ที่สร้างด้วยศิลปะร่วมสมัย และยังเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวจังหวัดศรีสะเกษครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 288 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 288 ครั้ง
 
 
  21 เม.ย. 2553 เวลา 19:34:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่5) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


งานเทศกาลเงาะทุเรียนศรีสะเกษ
    จัดขึ้นเป็นประจำในช่วงเดือนมิถุนายนของทุกปี ณ สนามหน้าที่ว่าการอำเภอกันทรลักษ์ หรืออำเภอขุนหาญ โดยจะจัดสลับกันแห่งละปี ภายในจะมีกิจกรรมมากมาย เช่น การออกร้านจำหน่ายพืชผักผลไม้ศรีสะเกษนานาชนิด เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง มังคุด สะตอ ยางพารา เป็นต้น การจัดขบวนแห่รถประดับด้วยผลไม้ การจัดนิทรรศการทางวิชาการ และการจัดกิจกรรมคาราวานชมสวนชิมผลไม้ศรีสะเกษ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 284 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 283 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2553 เวลา 17:32:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่82) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


      ปรางค์ประธาน  เมื่อเข้าโคปุระทางทิศตะวันออก จะเห็นปรางค์ขนาดใหญ่ตั้งอยู่ตรงกลาง มีปรางค์เล็กขนาบอยู่สองข้าง ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกัน องค์ปรางค์ก่อด้วยอิฐและหินทราย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 284 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 284 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 15:25:27  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่18) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


อนุสาวรีย์แม่ศรีสระผม

       บริเวณวงเวียนหลังสถานีรถไฟศรีสะเกษ สร้างขึ้นตามตำนานที่ว่า แม่ศรีเป็นธิดากษัตริย์ลาวได้อภิเษกสมรสกับพระยาแกรก กษัตริย์เขมรเมืองพระนคร เมื่อเสด็จตามเส้นทางระหว่างเมืองทั้งสองมักจะแวะพักสรงน้ำ และสระเกศาที่แอ่งน้ำบริเวณวัดพระโต หรือ วัดมหาพุทธารามในปัจจุบัน เมื่อมีการสร้างเมืองทีหลังจึงให้ชื่อเมืองว่าศรีสะเกษ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 283 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 283 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 09:48:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่91) เที่ยวเมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ปราสาทเยอ

     ตั้งอยู่ในวัดปราสาทเยอ หมู่ 1 บ้านปราสาทเยอ ต.ปราสาทเยอ อ.ไพรบึง เป็นศิลปะเขมร ปัจจุบันชำรุดหักพัง  มีลักษณะเป็นเนินโบราณสถาน  ที่มีชิ้นส่วนของหินทราย อิฐ ศิลาแลงกระจายอยู่ทั่วไป สันนิษฐานว่าสร้างในพุทธศตวรรษที่ 16-17 (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 113-114)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 283 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 283 ครั้ง
 
 
  22 เม.ย. 2553 เวลา 15:49:29  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่0) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


                          
                           แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ

                          เขตดงลำดวน  หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี


     ศรีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคอีสานตอนล่างที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน เคยเป็นชุมชนที่มีอารยธรรมรุ่งเรืองมานับพันปี นับตั้งแต่สมัยขอมเรืองอำนาจ และมีชนเผ่าต่าง ๆ อพยพมาตั้งรกรากในบริเวณนี้ ได้แก่ พวกส่วย ลาว เขมร และเยอ ศรีสะเกษเดิมเรียกกันว่าเมืองขุขันธ์ เมืองเก่าตั้งอยู่ที่บริเวณบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน ตำบลดวนใหญ่ อำเภอวังหินในปัจจุบัน ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเมืองเมื่อ พ.ศ. 2302 สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยมีหลวงแก้วสุวรรณซึ่งได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระยาไกรภักดีเป็นเจ้เมืองคนแรก ล่วงถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ย้ายเมืองขุขันธ์มาอยู่ที่เมืองเก่า ตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน แต่ยังคงใช้ชื่อว่า เมืองขุขันจนถึง พ.ศ. 2481 จึงเปลี่ยนเป็นจังหวัดศรีสะเกษตั้งแต่นั้นมา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 282 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 279 ครั้ง
 
 
  19 เม.ย. 2553 เวลา 15:20:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่21) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


วัฒนธรรมชาวลาว จ.ศรีสะเกษ


การแต่งกายของชาวลาว

แต่งกายคล้ายคนไทยทั่วไป  ในสมัยก่อน ชายนุ่งผ้าขาวม้า  ผ้าโสร่ง หรือกางเกงขาก๊วย  มีหูรูด มีผ้าขาวม้าพาดบ่า  หญิงนุ่งผ้าถุง มีผ้าคาดอก  ถือผ้าเบียงหรือสไบ  ไม่สวมรองเท้าเป็นส่วนใหญ่  แต่ขณะนี้การแต่งกายเป็นไปตามสมัยนิยมแล้ว (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ,2544 : หน้า214)



การกินอยู่ของชาวลาว

ในอดีตกินข้าวเหนียวทุกมื้อ โดยการแช่ข้าวเหนียว (เรียกว่าหม่าข้าว) แล้วนึ่งในหวดหรือมวย  อาหารหลักคือปลา (จะมีการทำปลาร้าเก็บไว้กินตลอดปี) และอาหารอื่นที่หาได้ในท้องถิ่น เช่นผักพื้นบ้าน หมูเห็ดเป็ดไก่ แมลง    อาหารอาจรับประทานดิบ ถ้าทำให้สุกจะใช้การต้ม นึ่ง จี่ เผา ปิ้ง ย่าง คั่ว อ่อม ไม่นิยมผัดทอด อาหารชั้นยอดคือลาบ,ก้อย   ปัจจุบันการกินของดิบเริ่มน้อยลงเพราะการรณรงค์ของราชการ  นอกจากนั้นยังกินสัตว์แทบทุกชนิด  เห็ดป่าต่างๆ จึงเป็นแหล่งอาหารของชาวบ้าน(คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 217)



ความเชื่อ

ความเชื่อเรื่องญาพ่อ(หรือเจ้าพ่อ) เผ่าที่นับถือญาพ่อคือคนลาว  ที่อ.บึงบูรพ์จะนับถือเกือบทุกหมู่บ้าน  อาจเรียกได้ว่าญาพ่อคือจ้าวในเมืองผี  จะมีประเพณีการเลี้ยงญาพ่อ เป็นประจำทุกปี เพื่อให้ท่านปกปักรักษาให้อยู่เย็นเป็นสุข (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 244-252)



การละเล่น

หมอลำ

แบ่งเป็นหมอลำคู่ (ลำโต้ตอบระหว่างชายหญิง) และหมอลำหมู่จะลำเป็นคณะ  แต่งตัวคล้ายลิเกและแสดงเป็นเรื่องราว (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 168)



โปงลาง

มีการสนับสนุนให้เล่นโปงลางในสถานศึกษาจนได้รับเชิญไปแสดงในต่างประเทศ โรงเรียนที่ได้รับเชิญ ได้แก่ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยและโรงเรียนราษีไศล (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า 175)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 279 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 279 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 10:30:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่17) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


ประตูเมืองศรีสะเกษ    
      ตั้งอยู่ริมฝั่งห้วยแฮด ด้านตะวันออก ต.โพธิ์ อ.เมือง สร้างด้วยคอนกรีตเลียนแบบศิลปะขอม ตั้งอยู่ที่ทางเข้าตัวเมืองศรีสะเกษ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 276 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 276 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 09:43:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   868) เมืองศรีสะเกษ  
  บ่าวเมืองดอกลำดวน    คห.ที่20) เมืองศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่รอง

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 19 เม.ย. 2553
รวมโพสต์ : 108
ให้สาธุการ : 25
รับสาธุการ : 294420
รวม: 294445 สาธุการ

 


การตั้งถิ่นฐานชาวลาว จ.ศรีสะเกษ


ชาวลาวใน จ.ศรีสะเกษนั้นมีความสัมพันธ์กับชาวลาว ในประเทศลาวเป็นอย่างยิ่ง  เนื่องจากประเทศลาวมีหลายเผ่าพันธุ์  ซึ่งรวมเข้าเป็นสามเหง้าด้วยกันคือ เหง้าอินโดนีเซีย เหง้าจีนและเหง้าไทลาว  เหง้าอินโดนีเซียเป็นชนเผ่าที่ถูกเรียกว่าสลาวเทิงหรือชาวข่า  เหง้าจีนเป็นชนเผ่าที่ระยะหลังเรียกว่าลาวสูง ได้แก่พวกเผ่าแม้ว เย้า  เหง้าไทลาวหมายถึงลาวทีลุ่มได้แก่ชนเผ่าไท ผู้ไทและลาว  ดังนั้นการกล่าวถึงชาวลาวใน จ.ศรีสะเกษจึงขอกล่าวเฉพาะเผ่าไทลาวเท่านั้น

ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 7 มีชนเผ่าไทจำนวนหนึ่งล่องเรือลงมาจากตอนใต้ของประเทศจีน มาตามลำแม่น้ำแดง เเม่น้ำอู แม่น้ำโขงลงมาประเทศลาว  นำโดยขุนลอ  เข้ารบกับขุนกันฮางและหลานเหลน  พ่ายหนีตกเมืองน้ำทาพันแล  เมื่อนั้นขุนลอจึงได้ตั้งเมืองเป็นท้าวเป็นพญาแก่ลาวทั้งหลาย ก่อนท้าวพญาลาวทั้งหลายทั้งมวล  จากขุนลอราชวงศ์ลาวได้สืบทอดกันลงอีก 20 รัชกาลจนถึงสมัยเจ้าฟ้างุ้ม  

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ลาวมีฐานะเป็นพันธมิตรของอยุธยา  ลาวมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เวียงจันทน์ ซึ่ง พ.ศ. 2103 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชได้สร้างนครเวียงจันทน์ เป็นเมืองหลวงของลาวล้านช้าง

ใน พ.ศ. 2237 ทางราชสำนักนครเวียงจันทน์ เกิดแย่งชิงอำนาจกัน  พวกราชวงศ์ลาวต้องลี้ภัยการเมืองไปยังสถานที่ต่างๆ  ส่วนหนึ่งมีผู้นำที่เป็นศรัทธาของประชาชน คือพระครูยอดแก้ว วัดโพนสะเม็ก  มีศิษย์ตามมามากประมาณ 3,000 คน  ได้ลงมาอาศัยกับพญาข่าผสมลาวแห่งนครจำบากนาคบุรีศรี  ได้มีความสัมพันธ์กับข่าที่มีนางเพานางแพงเป็นผู้ครองนคร  ท้ายที่สุดนครจำบากก็ตกอยู่ในอำนาจของราชวงศ์ลาว ที่สถาปนาอาณาจักรลาวใต้ขึ้นมา  เปลี่ยนชื่อเป็นนครจำปาศักดิ์นัคบุรี  มีกษัตริย์เชื้อสายลาวที่อพยพลงมานั้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2256  พระนามว่าพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร (พ.ศ. 2256-2281) แล้วจัดการปกครองหัวเมืองข่าทั้งปวงทั้งในเขตลาวใต้  อันได้แก่สาละวัน จำปาศักดิ์ อัตปือ  ตลอดจนส่งเสนาข้าราชบริพารไปตั้งเมืองถึงบริเวณลุ่มแม่น้ำมูล-ชี  ถึงเมืองนครเขต  ซึ่งเป็นเมืองลาวที่ตั้งใหม่ในเขต จ.ศรีสะเกษ

ชาวลาวที่เข้ามาในรุ่นนี้  จากหลักฐานน่าจะเข้ามาตั้งบ้านเรือนตามหมู่บ้านใหญ่ๆ ในลุ่มแม่น้ำมูล เช่น  ที่ตั้งของเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน บานหนองครก บ้านคูซอด บ้านหนองโน อ.เมืองศรีสะเกษ  ดังประวัติหมู่บ้านที่ได้ระบุไว้

บ้านหนองครก หมู่ที่1 และหมู่ที่ 5 อ.เมืองศรีสะเกษ   ที่ชื่อบ้านหนองครกเพราะมีตำนานว่า ในวันพระเวลาข้างขึ้นข้างแรมเวลากลางคืน  จะได้ยินเสียงกลองที่หนองน้ำ และมีครกสีทองผุดขึ้นมาลอยเหนือน้ำ  จึงได้ชื่อว่าบ้านหนองครก  บรรพบุรุษเดิมของชาวหนองครกเป็นพวกลาวกาวที่มาจากนครจำปาศักดิ์  มาตั้งถิ่นฐานก่อนตั้งเมืองขุขันธ์

บ้านคูซอด หมู่ที่1 หมู่ที่ 2 ต.คูซอด  อ.เมืองศรีสะเกษ  ชาวบ้านคูซอดอพยพมาจากเวียงจันทร์   มาตั้งบ้านที่บ้านโนนหนองหว้า ตอนหลังเปลี่ยนเป็นบ้านคูซอด  เมื่อเกิดศึกพระตาได้กวาดต้อนคนกลับไปลาว จน พ.ศ. 2321 จึงได้อพยพกลับมาอยู่ที่เดิม

บริเวณที่ตั้งเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน โดยเฉพาะบริเวณวัดมหาพุทธาราม  ในช่วงที่มาตั้งเมือง พ.ศ. 2328 ได้พบพระพุทธรูปขนาดใหญ่อยู่กลางป่า  ซึ่งปัจจุบันได้บูรณะให้เป็นพระประธาน่ของวัดมหาพุทธาราม

เมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ 24 พวกเจ้าลาวกลุ่มพระวอพระตาได้อพยพจากนครเวียงจันทน์  เข้ามายังบริเวณลุ่มน้ำมูล- ชี  เอกสารพื้นเมืองยโสธรกล่าวว่า พบแต่พวกผีที่เป็นเจ้าของป่าและลำน้ำ  จนมีการรบราฆ่าฟันก่อนที่จะตั้งหลักแหล่งได้    ใน จ.ศรีสะเกษได้พบหลักฐานที่สำคัญว่าชาวลาวกลุ่มพระวอพระตา  จะกระจายอยู่ในพื้นที่ จ.ศรีสะเกษหลายหมู่บ้านดังนี้

บ้านกุดโง้ง หมู่ 6 ต.โพนข่า อ.เมืองศรีสะเกษ  ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2310 โดยผู้นำคือเจ้าชัยสารโพธิสาร เมืองเวียงจันทร์อพยพมากับพระวอพระตา   โดยมีลาวสั้นจากนครจำปาศักดิ์รวมกลุ่มมาเป็นส่วนใหญ่  นำขบวนมาพิชิตชาวข่า ส่วย เยอ  จนสามารถสร้างบ้านได้เมื่อวันเพ็ญเดือน 5 พ.ศ. 2320 ก่อนตั้งเมืองศรีสะเกษประมาณ 5 ปี

บ้านโพนข่า หมู่ที่ 1 ต. โพนข่า .เมือง ศรีสะเกษ  อพยพมาจากดินแดนประเทศลาว เป็นพลพรรคไพร่พลของเมืองเเสนหน้าง้ำและพระวอ พระตา  โดยมีหลวงปู่สริยา พระเถระอาวุโสหนีภัยมาด้วย

บ้านเมืองน้อย หมู่ที่ 1,6,7 ต.เมืองน้อย อ.กันทรารมย์  ความหมายของชื่อหมู่บ้านเป็นที่พักของผู้ครองนคร  บ้านเมืองน้อยสืบเชื้อสายมาจากเมืองหนองบัวลำภ ูหรือนครเขื่อนขัณธ์กาบแก้วบัวบาน  ถิ่นฐานเดิมอยู่ในจังหวัดอุดรธานีในปัจจุบันนี้

อ.บึงบูรพ์ โดยเฉพาะ ต.บึงบูรพ์ หมู่ ที่ 1,2,3,8 ซึ่งได้แก่ บ้านเป๊าะ บ้านโนนสาวสวย  บ้านจอมพระ บ้านนาสวน  และบ้านนาหล่ม  และเครือญาติของชาวบ้านเป๊าะในต.เป๊าะ ซึ่งได้แก่ บ้านหาด  บ้านหมากยาง  จะเป็นหมู่บ้านชาวลาวที่อพยพมาจากเวียงจันทร์ ด้วยเหตุผลที่ไม่ปรากฏชัดหรือหลบภัยการเมือง  สำเนียงภาษาที่ชาวบ้านเป๊าะพูดเหมือนพี่น้องลาวชาวอุบล (จากการศึกษาของวิรอด ไชยพรรณา พบว่าเผ่าที่นับถือญาพ่อคือเผ่าลาว จะปรากฏที่ อ.บึงบูรพ์เกือบทุกหมู่บ้าน หมู่บ้านที่นับถือญาพ่อจะอยู่ใกล้บริเวณป่าดงภูดิน อ.ราษีไสล

อ.ยางชุมน้อย มีชาวลาวที่อพยพมาคราวสงครามพระวอ พระตา  ส่วนหนึ่งมาอยู่ที่บ้านดวนใหญ่  แต่เมื่อสงครามสงบเกิดคิดถึงบ้านเดิมจึงอพยพกลับ  ส่วนหนึ่งเดินทางมาถึงบ้านเจียงอี  จึงตั้งหลักแหล่งอยู่ที่นั่น  อีกส่วนหนึ่งเดินทางต่อไปพบสถานที่เหมาะสม จึงตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านยางชุมน้อย โดยไม่ได้กลับไปเวียงจันทร์แต่อย่างใด

                กลุ่มชาวลาวที่เข้ามาสมัยกรุงธนบุรี  

การยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทร์ จำปาศักดิ์จนได้รับชัยชนะ ได้กวาดต้อนชาวเวียงจันทร์มาเป็นจำนวนมาก มาอยู่ที่ ต.สิ ,ต.ขุนหาญ, อ.ขุนหาญ ต.หมากเขียบ อ.เมืองศรีสะเกษ ,บ้านตาอุด บ้านโสน อ.ขุขันธ์ , หลวงปราบ(เป็นทหารเอกในศึกครั้งนี้ ซึ่งไปได้ภรรยาไม่เป็นชาวลาว)ได้นำครอบครัวนางคำเวียงพร้อมบริวารไปอยู่ที่บ้านบก อ.ขุขันธ์ ก่อนที่จะย้ายเมืองมาตั้งที่หนองแตระในเวลาต่อมา

หลังจากที่ชาวลาวได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานใน จ.ศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง  ชาวลาวที่เรียนหนังสือและเป็นพระ ได้เผยแพร่ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและภาษา เข้าไปยังชุมชนชาวพื้นเมือง ชาวกวย เขมร เยอ มากขึ้นเรื่อยๆ  ประกอบกับในระยะหลัง ชาวลาวได้อพยพเข้าไปแทรกอยู่ในเกือบทุก อ. โดยเฉพาะ อ.เมือง ยางชุมน้อย กันทรารมย์ โนนคูณ กันทรลักษ์ จะมีจะประชากรชาวลาวเพิ่มมากขึ้น  ปัจจุบันภาษาลาวจึงเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันส่วนใหญ่ใน จ.ศรีสะเกษ(คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2544 : หน้า24-27)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 271 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 271 ครั้ง
 
 
  20 เม.ย. 2553 เวลา 10:12:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2 3

   

Creative Commons License
เมืองศรีสะเกษ --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ