ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
อย่าสิหวนหาเชื้อคนพาลเว้าบ่แม่น ลิ้นบ่มีฮั้วล้อมมันสิเว้าด่าเขา แปลว่า อย่าได้ติดเชื้อการพูดมาจากคนพาล คนพาลลิ้นไม่มีรั้วล้อม คอยแต่พูดว่าคนอื่น หมายถึง ไม่พึงเป็นคนพูดเท็จ คอยกล่าวหาจับผิดคนอื่น


  ค้นหาสาธุการ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1 2 3 4 5  
  โพสต์โดย   590) โน๊ตลายโปงลาง  
  เทพสุรา    คห.ที่4) พอบ่      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
ลาย โปงลาง

- - - - - - - ม - ซ – ล - ซ - ล - - - ล - - - ร - ด – ล - ซ – ล
- - - ล - - - ด - ร – ม - ร – ม - - - ม - - - ล - ซ – ม - ร – ม
- - - ม - - - ม - ซ – ล - ซ – ล - - - ล - - - ร - ด – ล - ซ – ล
- - - ล - - - ซ - ม – ล - ซ - ม - - - ม - - - ด - ร – ซ - ร – ม
- - - ม - - - ซ - ม – ล - ซ – ม - - - ม - - - ด - ร – ซ - ร – ม
- - - ม - ม - ร - ด - ล - ซ - ล - ด - ร - ม - ร - ด - ล - ซ - ล


ลาย บายศรีสู่ขวัญ

- - - - - - - - - - - - - - - ร - - - - - - - - - - - ม - ซ – ล
- - - - - ซ – ม - ร – ด - ม – ร - - - - - ซ – ม - ร – ด - ม – ร
- - - - - ม – ร - ด – ท - ล – ซ - - - - - - - - - ล – ด - ล – ด
- - - - - ร – ม - ร – ด - ล – ด - - - - - ร – ม - ซ – ล - ซ – ล
- - - - - - - - - - - - - - - ซ - - - - - ด – ล - ซ – ม - ร – ซ
- - - - - - - - - - - - - - - ด - - - - - ม – ร - ด – ล - ซ – ด
- - - - - - - - - - - - - - - ด - - - - - ร – ม - ซ – ม - ร – ม
- - - - - ซ – ด - - - - - ร – ม - - - ม - ซ – ล - - - ซ - - - ซ
- - - - - - - - - - - - - - - ซ - - - - - ด – ล - ซ – ม - ร – ซ
- - - - - - - - - - - - - - - ด - - - - - ม – ร - ด – ล - ซ – ด
- - - - - - - - - - - - - - - ด - - - - - ร – ม - ซ – ล - ด – ร
- - - - - ม – ร - - - - - ด – ล - ซ – ล - ด - ซ - ล – ด - ล – ด
- - - - - ม - ร - ด – ร - ม – ร - - - - (ซ้ำ)






ลาย แม่ฮ่างกล่อมลูก

*- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ล - ซ – ม - ร – ม
- - - - - - - ด - ร – ซ - ร – ม - - - - - - - ม - ร – ม - ซ – ด
- ท – ด - ม – ด - ร – ซ - ร – ม - - - ล - ด – ล - ซ – ม - ร – ม
- - - ร - ล – ด - - - ร - ม – ซ - ซ – ด - ร – ม - ซ – ร - ล – ด
- ล – ซ - ม – ร - ด – ล - ซ – ล - - - - - ม – ร - ด – ล - ซ – ล
- - - - - - - - - ด – ร - ม – ด - ท – ด - ม – ด - ร – ซ - ร – ม
- - - - - ลซม - ร – ม - ซ – ล - - - - - ร – ล - ด – ซ - ล – ม
- - - - - ล – ม - ซ – ร - ม – ด - ท – ด - ม – ด - ร – ซ - ร – ม
- - - - - ล – ม - ซ – ร - ม – ด - - - ร - ม – ร - ด – ล - ซ – ล
- - - - - ม – ร - ด – ล - ซ – ล - - - - - - - ล - ซ – ม - ร – ม
- - - - - - - ร - ด – ล - ซ – ล - - - - - - - ล - ด – ร - ม – ด
- ท – ด - ม – ด - ร – ซ - ร – ม - - - - - ลซม - ร – ม - ซ - ล
- - - - - ร – ล - ด – ซ - ล – ม - - - - - ล – ม - ซ - ร - ม – ด
- ท – ด - ม – ด - ร – ซ - ร – ม - - - - - ล – ม - ซ – ร - ม – ด
- - - ร - ม – ร - ด – ล - ซ – ล - - - - - ม – ร - ด – ล - ซ – ล
ล - ซ - ร - ม – ด - ล – ม - - - - - ซ – ร - ม – ด - ล – ร - - - -
- ม - ร - ด – ล - ซ – ล - ด - ร - ม – ร - ด - ล - ซ – ล













ลาย เซิ้งกระโป๋

*- - - - - - - - - ซ ม ร - ม – ซ - - ร ม - ซ – ล ซ ล ด ล ซ ม – ซ
- ล ซ ม ซ ล – ซ - ซ ม ร - ม – ซ - - ร ม - ซ – ล ซ ล ด ล ซ ม – ซ
- - - - - ม ซ ล ซ ล ด ล ซ ม – ซ - ล ซ ม ซ ล – ซ ล ซ ม ร - ด – ร
- - - ม - - ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร - - - ม - - ซ ร - ซ – ม ร ด – ร
**- - - - - - - ม - ม – ซ ม ร – ม - ม – ซ ม ร – ม - ม – ซ ม ร – ม
- ม – ซ ม ร – ม - ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร - ด – ร - ม ซ ร ม ร ด ล
ซ ล ด ร - ด – ร - ม – ร ม ร ด ร - ม – ซ ม ร – ม - ล – ด ล ซ – ล
***-รดล - ด – ด - ล ด ร - ด – ด ม ร ด ล - ด – ด - ล ด ร - ด – ด
- ซ – ม - ม – ม - ล ด ร - ด – ด - ซ – ม - ม – ม - ล ด ร ด ล ด ร
- - - - - ม ด ร - ม ด ร - ม ด ร - - - - - ม ด ร - ม ด ร - ม ด ร
- - - - - ล ด ร - ม ร ด ร ม – ร - - - - - ล ด ร - ม ร ด ร ม – ร
- - - ด - - ร ม ซ ม ร ด ร ม – ร - - - - - - - ม - - ฟ ม - - ร ม
- - ฟ ม - - ร ม ฟ ม ร ม ฟ ม ร ม - - - - - - - ฟ - - ซ ซ - - ม ฟ
- - ซ ฟ - - ฟ ฟ ซ ฟ ม ฟ ซ ฟ ม ฟ - - - - - - - ซ - - ล ซ - - ฟ ซ
- - ล ซ - - ฟ ซ ล ซ ฟ ซ ล ซ ฟ ซ - - - - - ด – ด - ม – ร - ซ – ม
- - - - - ด – ด - ม – ร - ซ – ม - ซ – ม - ร – ด - ซ – ล - ด – ร
- ซ – ม - ร – ด - ซ – ล - ด - ร ม ร ด ล - ด – ด - ล ด ร - ด – ด
ม ร ด ล - ด – ด - ล ด ร - ด – ด - ซ – ม - ม – ม - ล ด ร - ด – ด
- ซ – ม - ม – ม - ล ด ร ด ล ด ร - - - - - ม ด ร - ม ด ร - ม ด ร
- - - - - ม ด ร - ม ด ร - ม ด ร - - - - - ล ล ร - ม ร ด ร ม – ร
- - - - - ล ด ร - ม ร ด ร ม – ร - - - ด - - ร ม ซ ม ร ด ร ม – ร
(ซ้ำ**)-- เมื่อซ้ำจบ แล้ว)ท่อน ที่ 4
****มซม ร ม ซ ม (--ม ซ ม - รมซม) - ล ซ ม ร ม ซ ม (- ล ซ ม -ร ม ซ ม)
- ร – ซ - ร – ม (- ร – ซ - ร – ม) - ล ด ร - ด – ซ - ร – ม - ล – ด
- ล ด ร - ด - ซ - ร - ม - ล - ด - - - - - ล - ด - - ร ซ - ร – ม
.




ลาย ปั้นหม้อ

- - - - - - - ซ - ล – ม - ซ – ล - - - - - - - ด - ร – ด ล ซ - ล
- - - - - - - ร - ม – ด - ร – ม - - - - - - - ซ - ล – ซ - ร – ม
- - - - - - - ซ - ล – ม - ซ - ล - - - - - - - ด - ร – ด ล ซ – ล
- - - ม - ร – ด - ร – ม - ร – ม - - ซ ม - ร – ด - ร – ด ล ซ – ล
- - - - - - - ซ - ล – ซ - ร – ม - - - - - - - ซ - ล – ซ - ร – ม
- - - - - ซ – ม - ร – ด ล ซ – ล - ด – ร - ม – ร ม ร ด ล - ซ – ล
** - - - ท ล ล - ท ล ล - ท ล ล - ท ล ซ ม ซ ล ม - ซ ม ม - ซ ม ม
- - - - - ท ล ล - ท ล ล - ท ล ล - ท ล ซ ม ซ ล ม - ซ ม ม - ซ ม ม
- - - - - ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร - - - - - ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร
- ม ร ด ร ม – ร - ด – ล ซ ม ซ ล - ม ร ด ร ม – ร - ด – ล ซ ม ซ ล
***ล – ด - ร - ม - ม ซ ม ร ม ซ ม - ซ – ล - ด – ร - ร ม ร ด ร ม ร
- ล – ด ร ม ร ด - ด ร ด ล ด ร ด - ล – ด - ล ซ ล - ล ด ล ซ ล ด ล
- ล ซ ม ซ ล ซ ล (--ล ซ ม ซ ล ซ ล ด ซ ด ล ซ ม ร ม (ด ซ ด ล ซ ม ร ม)
- ม ร ด ร ม ด ร (--ม ร ด ร ม ด ร) ม ด ม ร ด ล ซ ล (ม ด ม ร ด ล ซ ล)
- ล – ด - ร - ม - ม ซ ม ร ม ซ ม - - ซ ล - ด – ร - ร ม ร ด ร ม ร
- ล – ด ร ม ร ด - ด ร ด ล ด ร ด - ล – ด - ล ซ ล - ล ด ล ซ ล ด ล
****- ล - - ล – ซ - - ฟ ม - ร ม ซ - ล – ม ล ม ล ซ - ฟ – ม - ร – ม
- ล - - - ล – ซ - - ฟ ม - ร ม ซ - ล – ม ล ม ล ซ - ฟ – ม - ร – ม
- - - - - ด – ร - ม ซ ม ร ด – ร - - ด ร - ล – ด - ร – ม ซ ม ร ด
- - - - - ม – ฟ - ม – ล - ม – ฟ - ม – ร - ม – ฟ ม ฟ ล ท ล ฟ ล ม
- - - - - ฟ ม ม - ฟ ม ม - ฟ ม ม - ล - - - ฟ ม ม - ฟ ม ม - ฟ ม ม

ลาย ตังหวาย

- - - - - ม ซ ม - ด – ร - ม ซ ด - ล ล ล - ม ซ ม - ด – ร - ม ซ ด
- ล ล ล - ม ซ ร - ร ด ล ด ร ด - ล ล ล - ม ซ ร - ร ด ล ด ร ด
- ล ล ล -ลํ – ซ ซ ม ร - ม ซ ด - ล ล ล - ลํ – ซ ซ ม ร - ม ซ ด
- ล ล ล - ดํ ดํ ดํ - ล – ซ - ซ ม ร - ม ซ ด - ล - - - ล ล ล - ล – ด
- ร - ซ - ล - -


ลาย แมงภู่ตอมดอกไม้

- - - ด - - - ร - - - ม - - - - - - - - - - - - - ล ล ล - - - -
- ล – ม - ม ซ ม ร ม ซ ม - ล ล ล - ล – ร - ร ด ร ม ร ด ร - ล ล ล
- ล – ม - ม ซ ม ร ม ซ ม - ล ล ล - ล – ร - ร ด ร ม ร ด ร - ล ซ ม
ซ ร ม ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - ล ซ ม ซ ร ม ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - ม ซ ม
ซ ล ซ ล - ล ด ร ด ล ซ ล - ม ซ ม ซ ล ซ ล - ล ด ร ด ล ซ ล - ม ซ ด
ร ม ร ม - ม ซ ล ซ ม ร ม - ม ซ ด ร ม ร ม - ม ซ ล ซ ม ร ม - ด – ร
ม ร ด ร - ร ด ล ด ร ด ร - ร ด ร ม ร ด ร - ล ซ ม ซ ร ม ด - ด ร ซ
ร ม ซ ม - ล ซ ม ซ ร ม ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - ล - ร ล ด ล ด - ด ร ซ
ร ม ซ ม - ล - ร ล ด ล ด - ด ร ซ ร ม ซ ม



ลาย น้ำโตนตาด

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - ม - - - ม - - - ม - - - -
- ม ซ ม - ม ร ม ร ม ซ ด - - - - - ม ซ ม - ม ร ม ร ม ซ ด - - - -
- ม ซ ม - ม ร ม ร ม ซ ล - - - - ม ซ ม - ม ร ม ร ม ซ ล - - - -
- ม ซ ล ซ ล ด ล ซ ม ร ม - - - - - ม ซ ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - - - -
- ม ซ ล ซ ล ด ล ซ ม ร ม - - - - - ม ซ ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - - - -
- ม ซ ร ม ร ด ล ด ร ล ด - ล – ม ม – ซ ร ม ร ด ล ด ร ล ด - - - -


ลาย ศรีโคตรบูรณ์

- - - ด - - ม ร - ด ร ม ซ ม ซ ร - ด ล ด - - ม ร - ด ร ม ซ ม ร ม
**ซ มซล - ด – ล - ซ ม ล - ด – ล - ซ ม ล ด ร ด ล - ซ ม ล - ด – ล
- ซ ม ล ด ซ ด ล ซ ม ร ม - ด ร ม - ซ ร ม - ด ร ม - ซ ร ม - ด ร ม
- ร ด ด - - - ม - ร ด ด - - - ม - ร ด ร - ด – ร ม ร ด ล - ด – ร
ม ร ด ร ม ร ซ ม รดทล - - - ม ร ด ท ล - - - ม ร ด ท ล - ท ล ร
- ด ท ล - ท ล ซ รดทล - ท ล ร - ด ท ล - ล – ด ร ม ซ ม ซ ม ร ด
ล ด ร ม - ล – ด รมซม ซ ม ซร**

ลาย นกไซบินข้ามทุ่ง

- ม ซ ล ล ด ซ ล - ม ซ ล ล ด ซ ล - ด ร ม ม ซ ร ม - ด ร ม ม ซ ร ม
- ม ซ ล ล ด ซ ล - ม ซ ล ล ด ซ ล - ม ร ด ล ด ซ ล - ม ร ด ล ด ซ ล
- ซ ม ร ด ล ซ ล - ซ ม ร ด ล ซ ล - ซ ม ร ม ด ม ร ม ด ม ร ด ล ซ ล
- ด ร ม ม ซ ร ม - ด ร ม ม ซ ร ม ม ด ม ร ด ล ซ ล ม ด ม ร ด ล ซ ล


ลาย สาวคอยอ้าย
- ล - ด - ร - ม - - - - - ซ – ร - ม – ด - ล – ล - - ซ ม - - - -
- - - - - ล – ด - ร – ม - - - - - ซ – ร - ม – ด - ร ด ล - - - -
- - - - - ซ – ล - ด – ร - - - - - ม ร ด - ร – ม ร ด – ร - - - -
- - - - - ซ – ล - ด – ร - - - - - ม ร ด - ร – ม ร ด – ร - - - ม
- ซ – ม - ร – ม - ด – ร - ม ร ด - ม – ร - ด – ล - ซ – ล - - - -
- ม ร ด - ร – ม ร ด – ร - ม ร ด - ม – ร - ด – ล - ซ – ล - - - -
- - - - - ม – ซ - ล – ด - ร ด ล - ด – ร - ม – ล - ซ – ล - - ซ ม
- - - - - - - - - ม – ซ - ล – ด - ร ด ล - ด – ร - ม – ล - ซ – ล
- - ซ ม - ม ซ ล - - ด ล - ซ – ม - ซ – ม - ร – ด - ร – ม ร ด – ร
- - - - - - - - - ร – ม - ซ – ล - ด – ล - - ซ ม - ร – ม ร ด – ร
- - - - - - - - - ร – ม - ซ – ล - ด – ล - - ซ ม - ร – ม ร ด – ร
- - - ม - ซ – ม - ร – ม ร ด – ร - ม – ด - ม – ร ม ร ด ล - ซ – ล
- - - - - ม ร ด - ร – ม ร ด – ร - ม – ด - ม – ร ม ร ด ล - ซ – ล
**ล – ด - ล – ม - ม ซ ม ร ด ร ม - ล – ด - ล – ม - ม ซ ม ร ด ร ม
- ล – ด - ล – ม - ม ซ ม ร ม ซ ล - ม – ล - ซ – ล - ซ ด ล ซ ม ซ ล
- ม – ล - ซ – ล - ซ ด ล ซ ม ร ม - ล – ด - ล – ม - ม ซ ม ร ม ซ ร
- ล – ด - ล – ร - ด ม ร ด ล ซ ล - ล – ด - ล ด ร ม ด ม ร ด ล ซ ล





ลาย ไทพวน

* - - - - มํ ซํ ลํ - - - ด ร ด ร ล - - - - - มํ ซํ ลํ - - - ด ร ด ร ล
- - - - - ด ร ม - - - ซ ล ซ ล ม - ม ซ ร - ร ด ร ม ร ด ล - ซ – ล
- ม ซ ร - ร ด ร ม ร ด ล - ซ – ล
* * - - - - - ล ล ล ล ด - ร – ม - - - ซ - - ล ม ซ ม ร ด ล ด ร ม
- - - - - - - ล ล ล ล ด - ร – ม - - - ซ - - ล ม ซ ม ร ด ล ด ร ม
- - - - - - - ล - - - ด - - - ร - - - ด ร ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร
- - - - - - - ล - - - ด - - - ร - - - ด ร ม ซ ร ม ร ด ล - ซ – ล
***-ลดม ซ ล ด ล ร ล ด ร ด ล ซ ล - ล ด ม ซ ล ด ล - - ซ ล ด ร ด ม
- - ซ ล ด ร ด ม - - ซ ล ด ร ด ม - ม ซ ร - - ด ร ม ร ด ล - ซ – ล
- ม ซ ร - - ด ร ม ร ด ล - ซ – ล






















โชว์วง (ศรีกระนวนฯ) แต่งโดย จักรพงษ์ เพชรแสน

- - - - - - - - - - - - - - - ล - - - - - - - - - - - - - - - -
- ล - - - ด - ล - - - ซ - - - ม - - - - - - - - - - - - - - - -
- ม - - - ซ - ล - - - ซ - ม - ร - - - - - - - - - - - - - - - -
- ล - - - ด - ร - ม - ร - ด - ล - - - - - - - - - - - - - - - ล
- ล - ล - ล - ล - ล - ล - ล - ล - ดํ - - - ท - ล - ท - - - ซ - ล
- - - - - - - - - - - - - - - - - ล - - - ท - ด - ท - - - ล - ซ
- - - - - - - - - - - - - - - - - ม - - - ซ - ล - ซ - - - ม - ร
- - - - - - - - - - - - - - - - - ล - - - ด - ร - ม - ร - ด - ล
- - - - - - - - - - - - - - - - - ดํ - - - ท - ล - ท - - - ซ – ล
- - - - - - - - - - - - - - - - - ล - - - ท – ด - ท - - - ล - ซ
- - - - - - - - - - - - - - - - - ม - - - ซ - ล - ซ - - - ม - ร
- - - - - - - - - - - - - - - - - ล - - - ด - ร - ม - ร - ด - ล
- - - - - - - - - - - - - - - - - ล ด ล - ซ - ล - ด - ร - ม - ซ
- ล ซ ม - ซ ล - - ดํ - ท - ล - ซ - ล ซ ม - ซ - ล - ดํ - ท - ล - ซ
- ดํ - ท - ล - ซ - ดํ - ท - ล - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ - - - -
- - - -
- - - - - ล ซ ม - ซ - ล กลอง
(- ล - - - ม - ซ - ล ซ ม - ซ - ล - - - - - ซ - ล - ท - ล ท ล ซ ม
- - - - - ม - ซ - ม ร ม - ซ - ร - - - - - ด - ร - ม - ร ม ร ด ล
- - - - - ม - ซ - ม ร ม - ซ - ล - - - - - ซ - ล - ท - ล ท ล ซ ม
- - - - - ม - ซ - ม ร ม - ซ - ร - - - - - ด - ร - ม - ร ม ร ด ล
- - - - - ม - ซ - ม ร ม - ซ - ร - ม ร ด - ร - ม - ม ซ ม - ซ - ล
- - - - - - - ล - ด - - - ร – ม - ร - - - ด - ร - ล - - - ซ - ล
- - - - - - - ล - ด - - - ร - ม - ร - - - ด - ร - ล - - - ซ - ล)







ลาย นารีศรีอีสาน

* - - ซํ - ลํ - ซํ - ลํ - ด - ลํ - ด - - - ร - ม - ร - ม - ซ - ล - ด
- - - ซ - ล - ซ - ล - ด - ล - ด - - - - - ม ร ด - ร - ม - ซ - ล
- - - - - - - - - ดํ - ม - ซ - ล - ม - ซ - ด - ล - ซ - ม ร ด - ร
- - - - - - - - - ด - ม - ซ - ล - ม - ซ - ด - ล - ซ - ม ร ด - ร
- - - ม - ซ - ม - ร - ม - ด - ร - ม - ด - ม - ร - ด - ล - ซ - ล
- - - - - ม ร ด - ร - ม - ด - ร - ม ร ด - ม - ร - ด - ล - ซ - ล
* * ล - ด - ล - ม - ม ซ ม ร ม ซ ม - - ล ซ - - ล ม - ม ล ซ ล ม ซ ล
- ล ด ม ซ ล ด ล ด ร ด ล ซ ล ด ล ล ม ซ ม ซ ล ด ล - ล ด ล ด ล ด ซ
- - ล ซ ม ซ ล ด ล ด ร ซ ร ม ซ ม - ม ล ม ซ ร ม ด ล ด ร ซ ร ม ซ ม
- ล - ด - ล - ม - ม ซ ม ร ม ซ ม ด ล ซ ม ร ม ซ ร - ซ ด ล ด ร ด ร
ม ซ ม ซ - ล - ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - ล - ด - ล - ม - ม ซ ม ร ม ซ ม
- ม ล ม ซ ร ม ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - ม ล ม ซ ร ม ด ล ด ร ซ ร ม ซ ม
* * * - - ล - ด - - ล ด - ร - ม - - - ล - - ซ ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล
- - - - - ล - ด - - ล ด - ร - ม - - - ล - - ซ ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล
- - - - - ล - ด - - ล ด - ร - ม - - - ด - - ล ซ ล ด ล ซ ล ด ซ ล
- - - ด - - ล ซ ล ด ล ซ ล ด ซ ล - - - ด - - - ล - ล - ล - ล - ล
- ด ล ด ล ด ร ล ด ล ด ซ ล ม ซ ล - ด ล ซ ล ด ซ ล ด ซ ด ล ซ ม ซ ล
- ด ล ซ ล ด ซ ล ด ซ ด ล ซ ม ร ม - ด ล ด ร ม  ซ ร - ร ม ร ด ล ซ ล
(- ด ล ด ร ม ซ ร ม ร ด ร ม ซ - - - - - ล)










ลาย ภูไท 3 เผ่า
(เผ่าที่ 1 สากลนคร)

- - - - - - - - - - - - - - - ล - - - - - ล - ด - ร ด ล - ร - ด
- - ล ล - ล - ด - ร ด ล - ร - ด - - ล ด - ล - ด - ร - ม ซ ม ร ด
- - ล ล - ล - ด - ร - ม ซ ม ร ด - - ล ล - ล - ด - ร ด ล - ร - ด
- - ล ล - ล - ด - ร ด ล - ร - ด - ล - ซ - ม - ม - ร - ม - ซ - ด
- ล ล ล - ล - ด - ร ด ล - ร - ด - ล ล ด - ล - ด - ร ด ล - ร - ด
- ล - ซ - ม - ร ม ร ด ร ม ซ - ล - - - - - - - ล - - - ท - ซ - ล
- ซ - ม - ซ - ล - - - ท - ม - ซ - - - - - - - ล - - - ท - ซ - ล
- ซ - ม - ซ - ล - - - ท - ม - ซ - - - ล - - - ล - - - ซ - ม - ร
- ม ร ด - ร - ม - - - ซ - - - ล

(เผ่าที่ 2 กาฬสินธุ์) ลาย ภูไทเลาะตูบ

- - - - - ม - ด - ร – ม - ร - ด - - - ล - ม - ด - ร – ม - ร – ด
- ล – ร - ด – ซ - ร – ม - ซ – ด - ล – ลํ - ม – ซ - ร – ม - ซ – ด
- ล – ม - ร – ด ร ด ร มํ - ซํ – ลํ - ล – ม - ร – ด ร ด ร มํ - ซํ – ลํ
ลงจบ - ซ – ร - ม – ด - ล – ม - - - - - ซ – ร - ม – ด - ล – ร
- - - - - ซ – ร - ม – ด - ล – ม - - - - - ซ – ร - ม – ด - ล – ร
- - - - - ม – ร - ด - ล - ซ – ล - ด - ร - ม – ร - ด - ล - ซ – ล

(เผ่าที่ 3 เรณูนคร) สาย ลมพัดพร้าว

- - - ด - ด ม ร ม ด ร ม *- ม ล ซ - ซ ล ม - ม ล ซ - ซ ด ล - ล ร ท
- ท ร ล ร ท ร ล ท ล ท ซ - ซ ล ซ ล ซ ล ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - ม ล ม
ซ ร ม ด ล ด ร ซ ร ม ซ ม - ล – ม - ล – ม - ล ซ ม - ล ซ ม - ม ซ ม
ร ม ซ ม ล ม ซ ม ร ม ซ ม - ม ซ ม ร ม ซ ม ล ม ซ ด ร ซ ร ม - ล – ด
- ล ด ร - ร – ด ล ม ด ร - ม ซ ม ร ม ด ร - ร – ด ล ม ด ร - ซ ด ล
ซ ม ซ ร - - - ด ล ด ร ม *
- ล – ม - ร – ซ - ร – ม - ล – ด - ล – ร - ม – ร ม ร ด ร ม ซ – ล


ลาย แพรวากาฬสินธุ์

พิณ
- - - - - ม ร ด - ร – ด - ล - ด
ท่อนที่1--- ด - - - ด - - - ม - ร – ด - - - ม - ร – ด - ร ด ล - ร – ด
- - - ด - - - ด - - - ม - ร – ด - - - ม - ร – ด - ร ด ล - ร – ด
- - - ร - ซ – ม - - - ร - ด – ม - - - ร - ซ – ม - - - ร - ด ล ด
- - - ด - - - ด - - - ม - ร – ด - - - ม - ร – ด - ร ด ล - ร – ด
- - - ด - - - ด - - - ม - ร – ด - - - ม - ร – ด - ร ด ล - ร – ด
- - - ม - ซ – ด - ร – ม - ซ – ม - ด – ร - ด – ม - ร – ม - ซ – ม
- ด – ร - ด – ม - ร – ด - ล – ด - - - ด - - - ด - - - ม - ร – ด
- ม – ม - ร – ด - ร ด ล - ร – ด - - - ด - - - ด - - - ม - ร – ด
ท่อนที่2---ม - ร – ด - ร ด ล ดํ ร ด ล - - - -* - ล – ม ซ ม ร ด ล ด ร ม
- ซ ม ซ ม ล ซ ม ม ซ – ร ม ร ด ล - - - - - ล – ม ซ ม ร ด ล ด ร ม
- ซ ม ซ ม ล ซ ม ม ซ – ร ม ร ด ล - - - - - ล ด ร ม ร ด ล ด ล ด ร
- - - - - ล ด ร ม ร ด ล ด ล ด ร (- ม ร ด ร ม – ร - ด – ล ซมซล)2รอบ
- - - - - ม ซ ล ล ซ – ม ม – ซ ล - ดํ – ซ - ดํ – ล - ล ซ ม - ม ซ ล
- - - - - ม ซ ล - ล ซ ม - ม ซ ล - ดํ – ซ - ดํ – ล - ด ซ ม ร ด ร ม
- - - - - ม ซ ร ม ร ด ล ด ล ด ร - - - - - ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร
- ม ร ด ร ม – ร - ด – ล ซ ม ซ ล - ม ร ด ร ม – ร - ดํ – ล ซ ม ซ ล
ท่อนที่3---ล - ด ร ม - ม ซ ม ร ด ร ม - ล – ม - ด ร ม - ม ซ ม ร ด ร ม
- ล – ม - ด ร ม - ซ – ซ - ด ร ม - ล – ม - ด ร ม - ซ – ซ - ด ร ม
- ด – ล - ด – ซ ซ ล – ซ ล ด ร ม - ด – ล - ด – ซ - ซ ล ซ ล ด ร ม
- ม ซ ม ร ม ซ ร ม ร ด ร ด ล ซ ล - ม ซ ม ร ม ซ ร ม ร ด ร ด ล ซ ล
- ม – ล - ซ – ล - ม – ล - ซ – ล - ม – ล - ซ – ล - ล ด ล - ล ด ร
- ม ซ ม ร ม ซ ด ล ด ร ซ ร ม ซ ม - ล ด ล ซ ม ซ ล ซ ล ด ล ซ ม ซ ล
- มํ รํ ดํ รํ มํ ดํ รํ ม ด ม ร ด ล ซ ล ด ซ ด ล ซ ม ซ ล ด ซ ด ล ซ ม ร ม
- ด ล ด ร ม ซ ร ม ร ด ร ด ล ซ ล - ด – ล - ด – ซ - ล – ซ - ด ร ม
- ด – ล - ด – ซ - ล – ซ - ด ร ม - ม ซ ม ร ม ซ ร ม ร ด ร ด ล ซ ล
- ม ซ ม ร ม ซ ร ม ร ด ร ม ซ - - - - - ล



ลาย เต้ยธรรมดา

(- - - ล - ด - ร - ม – ด - - - ล)2รอบ - ม – ซ - ซ - ด - ร – ม - - - -
- ล – ม - ล – ซ - ม – ซ - - - ร - ม – ด - - - ร - ม – ซ - ซ – ด
- ร – ม - ซ – ร - ม – ด - ลํ - ซ - ม – ร - - - ด - ล - ซ - ลํ – ซ
- ม - ร - ด – ร - ม - ซ - - - ด - - - ล


ลาย เต้ยโขง

- - - ล - - - ซ - ม – ล - - - ซ - ด – ล - - - ซ - ม – ล - - - -
- - - ล - - - ซ - ม – ล - - - ซ - ด – ล - - - ซ - ม – ล - - - -
- ซ – ม - - - ร - ด – ม - - - ร - ซ – ม - - - ร - ด – ล - - - ด
- ร - ม - ร – ด - ซ - ล - - - ด - ร - ม - ร – ด - ซ - ล - - - -



ลาย เต้ยพม่า

- ล – ท - ล - ท - ล – ซ - ล - ซ - ด – ล - ซ - ด - ร – ม - - - -
- ม – ม - ล – ซ - ม – ร - ด – ร - ล – ด - ร – ม - ร – ด - - - -
- ล – ด - - - - - ร – ม - ซ – ล - ซ – ม - ซ – ร - ร – ร - - - -
- ล – ร - - - - - ล – ท - ล – ซ - ล – ท - ร – ด - ท – ล - - - -
- ล – ร - - - - - ล – ท - ล – ซ - ล – ท - ร – ด - ท - ล - ล – ซ
- ล - ท - ร – ด - ท - ล







ลาย ดึงครกดึงสาก

- - - - - - - - - - - - - - - ล - - - - - ม – ด - ร – ม - ร - ด
- ล ล ล - ม – ด - ร – ม - ร – ด - ล. – ม - ร – ซ - ร – ม - ซ – ด
- ล – ลํ - ม – ซ - ร – ม - ซ – ด - ล. – ม - ร – ด - ร – ม. - ซ – ล.
- - - ม - ร – ด ร ด ร ม. - ซ. – ล. - - - - - - - - - - - ล - - - -
- - - - - - - ล - - - - - - - - - - - ล - - - - - - - - - - - ล
- - - - - - - - - - - - - - - ล - - - - - ม – ด - ร – ม - ซ – ล
- - - - - - - - - - - - - - - - - ซ ม ร - ซ – ล - ซ ม ล - ซ – ล
- ซ ม ล - ซ – ล - ซ – ม - ร ม ซ - - - - - - - - - - - - - - - ม
- - - - - - - - - - - - - - - - - ล – ม - ร – ม - ร – ด - ล. – ม
- ล – ม - ร – ม - ร – ด - ล – ด - ม ร ด - ล – ด - ร – ม - ซ – ม
- ซ – ม - ร – ม - ซ – ล - ซ – รํ - - - - - - - - - - - ด - - - ล
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - มํ - รํ – ดํ - ล – ดํ ล ซ – ล
- ซํ – มํ - รํ – ดํ - ล – ดํ ล ซ – ล - - - ซ - ด – ล - ซ – ม - ร – ม
- - - - - ซ – ม - ร – ด ล ซ – ล - ด – ร - ม – ร ม ร ด ล - ซ – ล
- - - ม - ร – ด ร ด ร ม - ซ – ล - - - - - - - ด - ร - ม. - ซ. – ล
- ด – ร - ม – ร ม ร ด ล - ซ – ล - - - - - - - ด - ร – ม. - ซ. – ล
- ด – ร - ม – ร ม ร ด ล - ซ – ล - - - ม. - ม. ซ. ม. - ซ. – ล. - ด – ล
- ด – ร - ม – ร ม ร ด ล - ซ – ล - - - ล - - - ล - ซ. – ล - ด – ร
- ร ร ร - ร - - - ซ – ล - ด – ร - - - ม - ร – ด - ร – ม - ด – ร
- - - ม - ร – ด - ร – ม - ร – ซ - ซ – ม - ร – ด - ร – ม - ด – ร
- ร ร ร - ร - - - ซ – ล - ด – ร - - - ร - ร - - - ซ – ล - ด – ร
- - - ม - ร – ด - ร – ม - ด – ร - - - ม - ร – ด - ร – ม - ร – ซ
- ซ – ม - ร – ด - ร – ม - ด – ร - - - ร - ร - - - ซ – ล - ด – ร
- ร ร ร - ร - - - ซ – ล - ด – ร - - - ม - ร – ด - ร – ม - ด – ร
- - - ม - ร – ด - ร – ม - ร – ซ - ซ – ร - ร – ด - ร – ม - ด – ร
- ร ร ร - ร - - - ซ - ล - ด – ร - - - ร - ร - - - ซ – ล - ด – ร





- - - ม - ร - ด - ร – ม - ด – ร - - - ม - ร - ด - ล - ด - ร – ด
- ม ร ด - ร – ด - ด – ล - ร- ด - ม ร ด - ร – ด - ล – ด - ร – ซ
- - - - - ล – ซ - ม – ซ -  ล - ซ - ด ล ซ - ล – ซ - ม – ซ - ล – ซ
- - - ม - ร – ด - ร – ซ - ร– ซ - ม – ซ - ร – ด - ร – ม - ด – ร
- ร - - - ร – ร
- - - - - ซ – ด - ด – ร ม ร ซ ม - - - - - ซ – ด - ด – ร ม ร ซ ม
- ซ – ซ ด ล ซ ม ซ ม ร ด - ล – ด - ซ – ซ ด ล ซ ม ซ ม ร ด - ล – ด
* - ด – ด ด ด – ซ ด ซ ม ซ - ล - ด - - - ร - ด – ล - ล ซ ม ซ ล – ซ
- ล ซ ม ซ ล – ซ ล ซ ม ซ - ล - ด - - - ร - ด – ล - ล ซ ม ซ ล – ซ
- - - - ม – ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร - - - - - ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร
- - - - - ซ – ม - ม ซ ล ซ ล ด ซ - ล ซ ม - ม ซ ล ซ ล ด ซ
- ซ - ซ - ล ซ ม - ร - ด - ร – ด - ซ- ซ ด ล ซ ม - ร – ด - ล - ด


ลาย ไทภูเขา

- - - - - ม - ด - ร – ม - ร - ด - ล ล ล - ม - ด - ร – ม - ซ - ด
- ล. - ม - ร – ซ - ร – ม - ซ – ด - ล. – ล - ม – ซ - ร – ม - ซ – ด
- ล . – ม - ร – ด ร ด ร ม - ซ – ล - - - ม - ร – ด ร ด รม - ซ – ล
**- - - - - - ม ดร - - ม ดร - - ม ด - ล ล ล - - ม ดร - - ม ดร - - ม ด
- ล. – ซ - ม – ม - ม – ร ด ล – ด - ล. – ซ - ม – ม - ม – ร ด ล – ร
ด ล – ร ด ล – ร ด ล – ร ด ล – ด
***- - - - - ล ซ ม - ซ – ล - ดํ – ล - - - - - ล ซ ม - ซ – ล - ดํ – ล
- - - - - รํ – ดํ - ล – ดํ ล ซ – ล - - - - - รํ – ดํ - ล – ดํ ล ซ – ล
- - - ด - ร – ด ล ด ร ด ล ซ – ล - - - ม - ร – ด ล ด ร ม ล ซ – ล
- - - - - ด – ซ - ล – ซ ม ร – ม - ล – ซ - ด – ซ - ล – ซ - ด ร ม
- - - - - ซ – ม - ร - ด ล ซ – ล - ด - ร - ร – ม ม ร ด ล - ซ – ล







ลาย ลมพัดไผ่

กลองส่ง
- ด ล ด ร ซ ร ม - ซ ม ล - ซ ร ม
- ด ล ด ร ซ ร ม - ซ ม ล - ซ ร ม - ด ล ซ ล ด ซ ล - - ด ซ ล ด ซ ล
- มํ รํ ด ด ล ซ ล - ล ด ม ซ ล ด ล - ล ด ม ซ ล ด ล - ล ด ม ซ ล ด ล
- ม ซ ด ร ม ซ ม - ม ซ ด ร ม ซ ม - ม ซ ร ม ร ด ล ซ ล ด ร ม ร ด ล
- ม ซ ร ม ร ด ล - ล ด ร ม ร ด ล - ล ด ม ซ ล ซ ล - ล ด ร ด ล ซ ล
- ล ด ม ซ ล ด ล ซ ล ด ร ด ล ซ ล



ลาย ชมอีสาน

*- - - - - - - ล - - ซ ม ร ม ซ ล - - - ซ ล ซ ล ด - ด ร ซ ร ม ซ ม
- - - - - ม – ล - - ซ ม ร ม ซ ล - - - ซ ล ซ ล ด - ด ร ซ ร ม ซ ม
- - - - - ล – ม - ม ร ด ล ด ร ม - ซ - - - - ม ร - ม ร ด ล ด ร ซ
- ล ด ล ซ ม ซ ร ม ร ด ล ด ร ล ด - - - - - ม ซ ล - ท ล ซ ล ท ซ ล
- ท ล ซ ล ท ล ซ ร ท ล ซ ล ท ซ ล - - - - - ด ร ม ล ซ ม ร ม ด ร ม
ล ซ ม ร ม ด ร ม ซ ม ร ม ร ด ท ล*
- - - - - ซ ล ซ - ซ ล ซ ม ซ ล ซ
- - - - - ล ท ล - ล ท ล ซ ล ท ล - - - - - ท ร ท - ท ร ท ล ท ร ท
- - - - - ล ท ล - ล ท ล ซ ล ท ล - - - - - ซ ล ซ - ซ ล ซ ม ซ ล ซ
- - - - - ม ซ ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - - - - - ม ซ ด - ด ร ซ ร ม ซ ม
- - - - - - - - - ล – ด - ล – ม - ม ซ ด - ด ล ด - - - - - ล – ด
- ร – ซ - ร – ม - - - - - ล – ด - ร - ซ - ร – ม






ลาย มโหรีอีสาน

- - - - - ล ด ร - ร ด ล ด ร - ด - ล ด ล - ซ ล ด - - - ร ม ซ - ม
- - - - - ล – ม ซ ม ร ด ล ด ร ม - ม ซ ล - ล ซ ม - ร ม ซ - ด – ซ
- - - - - ล ด ร - ม ซ ม ร ม ซ ล - ล ซ ม - ม ซ ล ซ ล ด ล - ม ร ด
ล ด ร ม ซ ล ซ ม - ร - ด (- ซ - - - ม - ร ม ร ด ล ด ร – ด)


ลาย ภูไทกาฬสินธุ์

- - - - - ม – ด - ร – ม - ร - ด - - - ล - ม – ด - ร – ม - ร – ดํ
- - - ม - ร – ซ - ร – ม - ซ – ด - - - ล - ม – ด - ร – ม - ซ – ด
- - - ม - ร – ด - ร – ม - ซ – ล - - - ม - ร – ด - ร – ม - ซ – ล
- - - - - ม – ด - ร – ม - ร – ด - - - ล - ม – ด - ร – ม - ซ – ด
- - - ม - ร – ซ - ร – ม - ซ – ด - - - ล - ม – ซ - ร – ม - ซ – ด
- - - ม - ร – ด - ร – ม - ซ – ล - - - ม - ร – ด - ร – ม - ซ – ล
*- - - ม ม ม - - - ร – ด - ล – ม - - - ล - ด – ร - ม – ร - ด – ล
- - - ล - ด – ร - ม – ร - ด – ล - - - ม ม ม - - - ร – ด - ล – ด
- ร – ด - ล – ด - ร – ม - ซ – ม - - - ล - ซ – ม - ร – ม - ซ – ม
- - - ล - ซ – ม - ร – ม - ซ – ล - - - - - ร – ด - ล – ด - ซ – ล
- - - - - ร – ด - ล – ด - ซ – ล - ด – ร - ซ – ม - ร – ด - ซ – ล
- ด ซ ล - ด ซ ล - ซ – ม - ร – ม - ซ – ล - ด – ล - ซ – ม - ร – ม
- - - - - ซ – ม - ร - ด - ซ - ล - ด - ร - ม – ร - ด – ล - ซ – ล









โชว์วง

- - - - - - - - - - - - ล - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
- ล – ด - ล – ด - ล – ซ - ม – ซ - - - - - - - - - - - - ล - - -
- - - - - - - - - - - - - - - - กลอง จังหวะ3ช่า 4 รอบ ส่งกลอง
( - ล - ล - ล – ด - ล – ล - ม – ซ - ม – ม - ม – ซ - ม ม)2รอบ - ร – ร
- - - ม - ด – ร - - - ด - ม – ร - ด – ล - ซ – ล - - - - - ล – ด
- - - ล - ด – ร - - - ด - - - ร - ซ – ม - ม – ม - - - - - - - ล
- - - ล - ล – ล - - - - - - - ล - - - ล - ล – ล - - - - - ร – ม
- - - - - ซ – ล - - - - - ซ – ม - ร – ม - ซ – ล - - - - - ร – ม
- - - - - ซ – ล - ด – ล - ซ – ด - - - ร - ม – ซ - - - - - ร – ม
- - - - - ซ – ล - ด – ล - ซ – ด - ร – ม - ซ – ม - - - - - ร – ด
- - - ร - ล – ด - - - ล - ม – ซ - ด – ล - ซ – ล - - - - - ล – ด
- - - ล - ด – ร - - - ด - - - ร - ซ – ม - ม – ม - - - - - - - ล
- - - ล - ล – ล - - - - - - - ล - - - ล - ล – ล - - - - - ม – ล
- ล – ซ - ล – ซ - - - ล - ม – ล - ล – ซ - ซ – ล - - - ล - ม – ล
- ล – ซ ซ - - ด - - - - - - - - - - - - - - - ล - - - - - - - -
- - - - - - - - - ด – ด - ล – ล - ซ – ซ - ม – ม - ด – ด - ล – ล
- ซ – ซ - ม – ม - ด – ด - ล – ล - ซ – ซ - ม – ม - ร – ร - ม – ม
- ร – ร - ด – ด - ม – ม - ร – ร - ด – ด - ล – ล - ม – ล - ล – ซ
- ซ – ล - - - - - ม – ล - ล – ซ - ซ – ล - - - - - ม – ล - ล – ซ
- ซ – ล - - - - - ม – ล - ล – ซ - ซ – ล - - - - - ม – ม - ซ – ซ
- ล – ล - ด – ด - ล – ล - ซ – ซ - ม – ม - ล – ล - ด – ด - ร – ร
- ม – ม - ร – ร - ด – ด - ล – ล - - - - - ม – ล - ล – ซ - ซ – ล
- - - - - ม – ล - ล – ซ - ซ – ล - - - - - ม – ล - ล – ซ - ซ – ล
- - - - - ม – ล - ล – ซ - ซ – ล - ล – ล - - - ด - ด – ด ร - - -
- ร - ร - - - ม





ลาย ศรีทันดร

- - - - - - - ด - - - ด - - - ด - - - - - - - ด - ด ล ซ - ล - ด
- - - - - - - ร - ร ด ล - ด – ร - - - - - - - ด - ด ล ซ - ล – ด
- - - - - - - ร - ร ด ล - ด – ร - - - - - ม ดร - ม ด ร ล ม ด ร
- - - - - ม ด ร - ม ร ด ล ม ด ร - - - - - ล ด ร - ม ร ด ล ม ด ร
- - - - - ล ด ร - ซํ – ม - ร ด ร - - - ร ม ซ ม ซ ล ซ ด ล ซ ม ร ด
- - - ร ม ซ ม ซ ล ซ ด ร ซ ม ร ด - ล – ด ล ด ร ม ซ ม ร ด ล ม ด ร
- ล - ด ล ด ร ม ซํ ม ด ร ล ม ด ร - - - -



ลาย ลมพัดพร้าว

- - - ด - ด ม ร ม ด ร ม *- ม ล ซ - ซ ล ม - ม ล ซ - ซ ด ล - ล ร ท
- ท ร ล ร ท ร ล ท ล ท ซ - ซ ล ซ ล ซ ล ด - ด ร ซ ร ม ซ ม - ม ล ม
ซ ร ม ด ล ด ร ซ ร ม ซ ม - ล – ม - ล – ม - ล ซ ม - ล ซ ม - ม ซ ม
ร ม ซ ม ล ม ซ ม ร ม ซ ม - ม ซ ม ร ม ซ ม ล ม ซ ด ร ซ ร ม - ล – ด
- ล ด ร - ร – ด ล ม ด ร - ม ซ ม ร ม ด ร - ร – ด ล ม ด ร - ซ ด. ล
ซ ม ซ ร - - - ด ล ด ร ม *
- ล - ม - ร – ซ - ร - ม - ล – ด - ล - ร - ม – ร ม ร ด ร ม ซ – ล











ลาย เซิ้งแหย่ไข่มดแดง

*- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ซลดร - - - - ซลดร
- - - - ซลดร -รดล ซลดร -รดล ซลดร มรดล - ซ – ซ
**- - - - - ซ – ซ - - - - - ล – ด - - - ร - ด – ซ - ม – ด รม-ร
- มซล - ม – ซ - ม – ด รม-ร - - - - - ซ – ม ลมซร มรดล
- - - - - ซ – ม ลมซร มรดล - ซ – ล - ด – ม ซมรด - ล – ด
-รดร - ม – ม ซมรด - ล – ด - - - - - ซ – ม -มซล ซมซร
- - - - - ซ – ม -มซล ซมซร - ด – ร - ม – ม ซมรด - ล - ด
-รดร - ม – ม ซมรด - ล – ด - - - ด - ล – ซ - ม - ด รม-ร
-มซล - ม – ซ - ม – ด รม-ร - - - - -มซร - - - - -มซร
- - - - -มซร -รดล ซลดร - - - - -มซร - - - - -มซร
- - - - -มซร -รดล ซลดร - - - - ซลดร - - - - ซลดร
- - - - ซลดร -รดล ซลดร -รดล ซลดร ม ร ด ล - ซ – ซ
- - - - ซลดร - - - - ซลดร - - - - ซลดร -รดล ซลดร
-รดล ซลดร มรดล - ซ – ซ - - - ซ - - - ซ
*** - - - ร - ด – ล - - - ร - ด – ล
- - - ร - ด – ล -ดลซ ลดซล - - - ร - ด – ล - - - ร - ด – ล
- - - ร - ด – ล -ดลซ ลดซล -ดลซ - ฟ – ซ -ดลซ - ฟ – ซ
-ดลซ ลดลด รดลซ ลดซล - - - ด รมรม - - - - - - - ม
- - - - - - - ม - ม – ม - ม – ม - ล – ล รมรม - ล – ด รมรม
- ล – ร ดล-ร ดล-ร ดล-ร -ดลซ ลดลด รดลซ ลดซล
-ดลซ - ฟ – ซ -ดลซ - ฟ – ซ -ดลซ ลดลด รดลซ ลดซล










ลาย เซียงข้อง (เต้ยเดือนห้า)

*- - - - - - - ร - - - ร - - - ร - - - - - ม - ร - ม – ด - ม - ร
- - - - - ม – ร - ม – ด - ม – ร - - - - - ลดร - ม – ด - ม – ร
- - - - - ลดร - ม – ด - ม – ร - - - ด - ร – ม ซมรด รม – ร
- - - ม - ซ – ซ - ม – ซ - ลซม - - - ม - ซ – ซ - ม – ซ - ลซม
- - - ซ - ม – ซ - ซ – ม รด – ร - - - ซ - ม – ซ - ซ – ม รด – ร
- - - - - ซ – ร ซรดล ซลดร - - - - - ซ – ร ซรดล ซลดร
- - - ม - ซ – ล ดลซม รด – ร - - - - - ซ – ร ซรดล ซลดร
- - - - - ซ – ร ซรดล ซลดร - - - ม - ซ – ล ดลซม รด – ร
**- - - - - - - - - - - - - - - ล - - - - - ล – ล ร – รท - ล – ล
- - - ท - ล – ท ร – รท - ล – ล - - - ด - ร – ม - มซม มรซม
- - - ด - ร – ม - ลซม รมซม - มรด - ร – ร - ล – ท - ล – ล
-มรด - ร – ร - ล – ท - ล – ล - - - - - - - - - - - - - - - -
***- - - ด รมซล - - - - - - - - - ลดล ซลดล รลดล ซลดล
-ลดม ซลดล - ดซด ซมรม - มซด รมซม ซลดล ซมรม
-มรด - ร – ร - ล - ท - ล – ล - มรด - ร – ร - ล - ท - ล – ล
















ลาย ออนซอนอีสาน

*- - - ล - ด - ล - ด – ซ - ล – ด - - - ล - ด – ร - ด – ม - ร - ด
- - - ล - ด – ล - ด – ซ - ล – ด - - - ร - ด – ร - ม – ล - ซ – ซ
- - - - - - - - - ร – ม - ซ – ล - ซ – ล - ด – ล - ซ – ม - ซ – ซ
- - - - - - - - - ด – ร - ด – ล - ซ – ล - ด – ล - ซ – ม - ซ – ซ
- - - ม - - - ร - - - ด - - - ล - ด – ล - ซ – ล - ด – ม - ร – ด
- - - ม - ซ – ร - ม – ร - ด – ล - ด – ล - ซ – ล - ด – ม - ร – ด
**- - - ล - ด – ล - ด – ซ - ล – ด - - - ล - ด – ร - ด – ม - ร – ด
- - - ล - ด – ล - ด – ซ - ล – ด - - - ล - ด – ร - ด – ม - ร – ด
- - - ซ - ล – ร รม – ร รม – ร - - - ซ - ล – ด ดร – ด ดร – ด
- - - ซ - ล – ร รม–ร รม-ร - - - ซ - ล – ด ดร-ด ดร-ด
-ดลด รดลด - ร – ม - ซ – ซ -ลซม - ซ – ล - ซ – ม - ซ – ซ
- - - - - ด – ล - ซ – ม - ซ – ซ - - - - - ม – ร - ด – ล - ล – ล
- - - - - ม – ร - ด – ล - ด – ด - ม – ร - ด – ล - ด – ซ - ซ – ซ
- ซ - ม - ร – ด - ร – ม - ร – ม - ซ - ม - ร – ด - ร - ด - ล – ด

















บายศรีสู่ขวัญ

มาเถิดเย้อ มาเยอขวัญเอย มาเย้อขวัญเอย
หมู่ชาวเมืองมาเบื้องขวานั่งส่ายราย เบื้องซ้ายนั่งเป็นแถว
ยอพาขวัญไม้จันเพลิดแพร้ว ขวัญมาแล้ว มาสู่คิงกลม
เกศแก้วหอมลอยลมทั้งเอื้อนชวนชมเก็บเอาไว้บูชา
ยามฝนพร่ำเจ้าอย่าคลาย ยามแดดสายเจ้าอย่าคลา
อยู่ที่ไหนจู่งมา รัดด้ายชัยยามาคล้องผ้าแพรกระเจา

อย่าเพลินเผลอ มาเยอขวัญเอยมาเย้อขวัญเอย
อยู่แดนดินใดหรือฟ้าฟากไกลขอให้มาเฮียนเฮ้า
เผืออย่าคิดอาลัยสู้เก่าขออย่าเว้าขวัญเจ้าจะตรม
หมอกน้ำค้างพร่างพรมขวัญอย่าเพลินชมป่าเขาลำเนาไพร
เชิญมาทัดพวงพยอม ทาน้ำหอมให้ชื่นใจ
เหล่าข้าน้อยแต่งไว้ร้อยพวงมาลัยจะคล้องให้สวยรวย

รำภูไท 3 เผ่า
ภูไทเผ่าที่ 1 เผ่าสกลนคร

ไปเย้อไป ไปโห่เอาไชยเอ้าสอง (ซ้ำ) ไปโฮมพี่โฮมน้องไปช่วยแซ่ซ้องอวยชัย
เชิงเขาแสนจนหนทางก็ลำบาก (ซ้ำ) ตัวข้อยสู้ทนยากมาฟ้อนรำให้ท่านชม
ภูไทเผ่าที่ 2 เผ่ากาฬสินธุ์
โอ้ยน้อ……ละบ่าวภูไทเอย ชายเอยอ้ายได้ยินบ่เสียงน้อง
คองน้ำตาเอ้นมาใส สาวภูไทยให้สะอื้น
มายืนเอิ้นใส่พี่ชายอ้ายเอ้ย……อ้ายเอย
ชายเอยเห็นว่าสาวภูไทน้อง อยู่บ้านป่านาดอน
หากินหมูกินแลน หมู่กระแตคอกเหนอ้ม
ซ้างมาตั๋วให้นางล้ม โคมหนามหล้าลิมปล่อย
ทำสัญญากันเรียบร้อย ซ้างมาฮ้างดอกห่างกัน อ้ายเอ้ย…อ้ายเอย



เต้ยหัวโนนตาล

ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย น้องนี้เนาอยู่ทางแคว้น ๆ แดนใด๋ล่ะน้องพี่ ปู ปลา มี
บ่ล่ะน้องทางบ้านหม่อมพระนาง
หญิง โอเดพี่ชายเอย….พี่ชายเอ้ย น้องนี้เนาอยู่ทางก้ำ ๆ กะสินค้าดำนาห่าง โอเดพี่ชายเอย
ปูปลาเต็มอยู่น้ำ ชวนอ้ายไปเที่ยวชม
ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย อ้ายมีจุดประสงค์แน่น หาแฟนเมืองน้ำก่ำ เมืองดินดำ
นี้ล่ะน้องทางอ้ายจะเกี่ยวดอง กะจั่งว่าแก้มอ่องต่อง ไสยองยองเอย
หญิง โอเดพี่ชายเอย….พี่ชายเอ้ย เขาซ่าว่านกเขาตู้ บ้านอ้ายมันขันหอง เขาซ่าว่านกเขาทอง
บ้านอ้ายมันขันม่วน โอเดพี่ชายเอย บัดเทือมาฮอดแล้ว คู่ค้างซ่าง บ่โตน คันบ่โตนเจ้า
คอนใต้ โอซ่างว่าโตนว่าคอนต่ำ โอเดพี่ชายเอย
ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย คันว่าสิบแหนงไม้ คันว่าซาวแหนงไม้ บ่อคือแหนงดอกไม้ไผ่
โอเดพระนางเอย อยากเป็นเขยบ้านน้องทางอ้ายจังต่าวมา
หญิง โอเดพี่ชายเอย….พี่ชายเอ้ย อ้ายอย่าตั๋วอีนางไห้เซไซบ้าป่วง อย่ามาตั๋วไห้น้องนางน้อยล่ะจ่อยโซ
ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย อ้ายบ่อตั๋วพระนางน้อง คำนางดอกน้องพี่ ฮักอีหลี๋ตั๋วละน้อง ทางอ้ายจั่งด่วนมา
หญิง โอเดพี่ชายเอย….พี่ชายเอ้ย คันบ่จริงอ้ายอย่าเว้า คันบ่เอาอ้ายอย่าว่า ทางปู่ย่าเพิ่นบ่พร้อมยอมเอาน้องขึ้นสู่เฮือน
ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอ้ย คันว่าเฮือนซานอ้าย น่อซานอ้ายดีหลายคันได้อุ่น
นับเป็นบุญพี่อ้ายคันน้องเข้าฮ่วมเฮือน
หญิง โอเดพี่ชายเอย….พี่ชายเอ้ย น้องนี้คิดฮอดอ้าย ๆ คืนเดือนหวายสิแนมเบิ่ง ๆ โอเดพี่ชายเอยใยซิเถิงหม่อมอ้ายคืนนั้นให้พี่คอย
ชาย โอเดพระนางเอย….พระนางเอย อ้ายซิขอรำเกี้ยว ๆ คำนางให้มันม่วน อ้ายซิชวนหมู่เพื่อนลำเกี้ยวเข้าใส่กัน









รำไทพวน

โอ้นอ มื้อนี้แม้ เลิศล้ำ มื้อประเสริฐ ดีงาม เฮาจึงมีเวลาพบกัน คราวนี้โอกาสดีนำได้
เดินทางมาต่านกล่าว ถามขาวข่าวพี่น้องทางพี่ผู้สู้คน พี่น้องเอย
โอ้น้อ ยามเมือมาพบพ้อ แสนซื่นสมใจ พี่น้องเอย พอสร้างไขวาจาสิ่งใดมาเว้า
เฮียมขอเอามือน้อมประนมกรละต้านต่อ ขอขอบใจพี่น้องทางพี่ผู้สู้คน พี่น้องเอย

โอ้น้อ เฮานี่แม้ซาติเซื้อสาวเผ่าไทพวน พี่น้องเอยเนาอยู่เมืองเชียงขวางประเทศลาว
ทางโพ้นกับทางโขงพันเกือยบงบานพะนาหย้า พากันเนาคึกส่างทางพู่นผู้สู้คน พี่น้องเอย

โอ้น้อ เฮานี่แม้ ซาติเซื้อสายเลือดเดียวกัน พี่น้องเอย มีหลายอันคือกันจ่อต่างกันบ่อน้อย
คอยล่ำแลสีหน้าอาภรณ์ ทุกสิ่งอย่างทุกข้าวทางปากเว้าเสมอด้ามดั้งเดียวกันบันแหล่ว
โอ้น้อ ที่มีกาลหาบตอน ยังก้มเกียรติจบงาม การอยู่กินไปมาสะดวกดีทันด้าน
สมว่าเป็นเมืองบ้านเฮียนเคียงของน้องพี่ เฮียบได๋เนาที่นี่เสมอบ้านแคบตน พี่น้องเอย

โอ้น้อ มาถึงตอนชายนี้ เนี่ยมก็กล่าวอวยพร ขอวิงวอนคุณครู พระธรรมองค์เจ้า
ขอให้มานำเข้าบันดาล และหยู่ส่ง ขอให้บ่งพี่น้อง อายุหมั่นหมื่นปี เว้ามาฮอนบอนนี้นางขออวยลาลง
ขอขอบใจโคงสายโงง้ ลุง อาว ป้า ที่ได๋อดสาเยินฟังเฮา น้องต้านกล่าว หวังว่าคราวหน้าพ้นคงซิได้
พบกันพี่น้องเอย ลาลงทงท้อนั่นแหล่ว ๆ













สาวกาฬสินธุ์ลำเพลิน

ละจั่งว่าเปิดผ่าม่านกั้ง  แจ้งสว่างสีขาว ขาว….  ละสามกาฬสินธุ์มาหา
*อย่าท่าทางหลายเด้ออ้าย ๆ
โอยเดชาย*มามาอ้ายมาไปชมถิ่น ๆ  ทางกาฬสินธุ์บ้านน้องสิลองเว้าสู่ฟัง
บ่ต้องตั้งใจต่อรอฝน ถึงฤดูปักดำสิหลั่งลงทางน้ำ ตามคลองน้อย ซอยมาจากเขื่อน
คือจั่งเดือนส่องแจ้งบ่มีเศร้าเก่าหมอง * ตาเหลียวมองจ้องเขื่อนลำปาว ๆ
พันภูสิงห์สูงยาวเป็นทิวทัศน์งามตา ถึงเดือนห้าสงกรานต์เดือนม่วนจนคำนวนบ่ได้
โอยไหลเข้าอั่งโฮม
สุกสมชมแดนสีสด จังหวัดงามหมดจดเหมือนดั่งเมืองแมน
ได้ชมสมใจสุขแสน บ่มียากแค้นกาฬสินธุ์โสภา เอ้ามามามา เอ้ามาพี่มากราบ
ให้ท่านได้ทราบว่าพี่มาเยือน *เก็บดอกไม้จุดธูปจุดเทียนๆ
ยกมือเหนือเศียรให้ท่านช่วยคุ้มครอง *รูปจำลองพระโสมพระมิตรๆ
เหมือนดังดวงจิตของชาวน้ำ ดำกราบกรานทุกวันเย็นคำ เพราะเป็นผู้นำกาฬสินธุ์ถิ่นงาม
*หันมาเว้าเมืองงามนามแก่น ๆ แฟนพุไปอากฮู้ ดูแล้วเที่ยวมา
งามดังฟ้าเกินม่วนหัวใจ แฟนพุไปเที่ยวชม * สิบ่ลืมเมืองน้อง ๆ



















ฟ้อนแคน

ได้ยินเสียงแคนอ้าย คืนเดือนหงายคิดฮอดพี่ เสียงลมพัดวี่…วี่ ผัดแฮงคิดออดอ้าย โอยหลายมื้อแต่ดนำ จักแมนกรรมหยังน้อง จั่งหมองใจได้ให้จ่ม พี่เอ๋ย ที่บ่ลมความมาดแม้นแลงเซ้าดูเป่าดาย ซ่างบ่กายกบ้าน ให้นงคราญได้เหลียวพอ พอให้ใจอี่น้อง ได้มองอ้ายให้ซื่นใจ…โอ้เด้น้อ…

เสียงแคนดัง ฟังตุแลแถ่นแต้ * ตุแลแล่นแต้ไผนอมาดป่า ๆ
เสียงเหมือนดังเรียกสาว ถามว่าบ้านอยู่ใส น้องได้ฟังเสียงแคนดังหวนให้
คนบาดดวงใจ * เหมือนอ้ายเคยเป่าให้ฟัง ๆ

*** โอ้..ฮักเอ๋ย ก่อนอ้ายเคยเว้าสั่ง ฮักอ้ายบ่จืดบ่จาง *เหมือนแคนอ้ายสั่งดังแล้แล่นแตๆ
บ่ลืมเลือน ยามเมื่อเดือนส่องหล้า  สองเฮาเคยเว้าว่า บ่ลืมสัญญา
กใต้ร่มไทร ยามน้องจากมา อ้ายจ๋าอย่าห่วงอาลัย เสียงแคนคราใด
ยังคิดฮอดอ้ายอยู่ทุกเวลา ๆ ***




















ลำเต้ยลา (เต้ยสามจังหวะ)

โอย  เจ้าพี่ชายเอย ๆ น้องนี่เนาว์ทางก้ำ
กระนวนน้อเจ้าขอนแก่น มายามแฟนเด้อเจ้าพี่น้อง
มารำร้องแมนสู่ฟัง นั่นละนาหนานวลมา
ละนาคนไดนา อย่าลืมขวัญตากระนวนเด้อๆ

โอยเจ้าพี่ชายเอย ๆ ฟังคารมชายเว้า
ยามใดละใจน้องฮิกฮ่อน คิดออนซอนละนอ
ตั้งแต่น้ำคำอ้ายอยู่บ่เซา นั่นละนาหนานวลนา
นั่นละนาหนานวลนา อย่าลืมสัญญาเฮาเด้อ ๆ

ขอกล่าวคำสุขสวัสดี ด้วยมิตรไมตรี
ผูกน้ำใจทั่วแดน ๆ ขอฝากแค่มิตรแฟน ๆ
เมืองงามสุขแสน นั่นคือขอนแก่น
อยากชวนใคร ๆ ไปเที่ยวเถิดหนา

ขอนแก่นบ้านเราสุขหลาย จะพาท่านไปเที่ยวชม ๆ
ไปกราบพระธาตุชื่นชม ท่านเอยสุขสมสวยงามตระหง่าน
ดูโบราณของไดโนเสาร์ มาเถิดท่านมาไปเที่ยวแก่นคำ

สมควรแล้วหนา ๆ ดิฉันขอลาไปก่อน
หากมีบุญคงย้อน มาพบกันใหม่
ศรีกระนวนวิทยาคม ขอกราบกันอำไพ
หากพบกันใหม่ อย่าลืมกล่าวทักทาย ๆ

ยกมือขึ้นขออำลา ๆ ขออวยพรมายังพี่น้อง
ขอให้สุขสมปอง มีเงินมีทองทุกถ้วนหน้า
ขอให้ท่านผู้ฟัง สุขสมหวังทั้งเงินตรา
อายุ วรรณะ สุขะ พละ ครบครั้นเทอญ




ลายลำเพลิน (ลายน้อย)
(ร – ล)
- - - ร - ฟ ซ ล - - - - - ฟ ซ ล - ด ล ซ - ฟ ร ฟ - ฟ ร ซ - ฟ ซ ล
- ด ล ฟ ซ ด ซ ล - - - ร - ร – ล ด ร ฟ ร - ด ล ร - ร ฟ ร - ด ล ล
ด ล ซ ฟ ฟ ซ ล ด - - - ล - ด ร ร ด ล ด ร - ฟ – ร - ซ ฟ ร ฟ ด ร ล
ร ล ด ซ ล ซ ฟ ร - - - ฟ ร ฟ ซ ล ร ล ด ฟ ซ ด ซ ล - - - ฟ - ล – ซ
ล ซ ฟ ร - ด – ร - - - ล - ด – ซ ล ซ ฟ ร - ด – ร - - - -

ลำเพลิน (ลายใหญ่)
(ล – ม)
(เกริ่น)  ล ล ม ซ ล ซ – ม   ม ซ ม ล   ด ร ล ด – ล   ล ล ร ล ด ซ ล ม – ซ ม
- - - ซ - - ซ ซ ลซมรดล ท ร ท ร - ท ร ล - - ท ร มรทลซล - ด – ร
ล ซ ร ม ล ซ ม ร ด ล ซ ล - - - ม ซ ล ซ ล ด ร ม ร ด ล ซ ล - ซ - -
- ม ร ม - - ม ร ด ล ซ ล - - - ซ - ซ – ด ร ม ซ ท ล ซ ร ม - ล – ล
ซ ร ม ล - ด ล ด - ร ม ซ - ม ซ ล ล ม ซ ม ล - ด – ล ม ซ ล ล ม ซ ม ซ
- ด – ล - ร ด ล - ด – ซ - ล – ม - ล – ม - ซ – ร ม ร ด ล - ด  ล -
- ร – ม - ล – ม - ซ – ด ร ซ ร ม - ด ม ร - ม – ร ด ล ซ ล - ม ซ ร
- ม - ร ด ล ซ ล - - - -














เซิ้งบั้งไฟ (ลายน้อย)
(ร – ล)
- - - ร - ด ล ร - ด ฟ ร - ด ล ร - - - ซ - ฟ ร ซ - ฟ ล ซ - ฟ ร ซ
- - - ซ - ฟ ร ซ - ฟ ล ซ - ฟ ร ร - - - ล - ซ – ล - ซ – ล ซ ล ฟ ซ
- - - ร - ฟ ซ ล - ร – ฟ ซ ล ซ ล - ซ – ล - ซ – ล - ฟ ล ซ - ฟ ร ฟ
- - - ร - ล – ซ - ฟ ล ซ - ฟ ร ร - ซ - ล - ซ – ล - ฟ ล ซ - ฟ ร ฟ

เซิ้งบั้งไฟ (ลายใหญ่)
(ล – ม)
- - - ล - ซ ม ล - ซ ด ล - ซ ม ล - - - ร - ด ล ร - ด ม ร - ด ล ร
- - - ร - ด ล ร - ด ม ร - ด ล ล - - - ม - ร – ม - ร – ม ร ม ด ร
- - - ล - ด ร ม - ล – ด ร ม ร ม - ร – ม - ร – ม - ด ม ร - ด ล ด
- - - ล - ม – ร - ด ม ร - ด ล ล - ร - ม - ร – ม - ด ม ร - ด ล ด



ลำคอนสวรรค์ (ลายใหญ่)
(ล – ม)
ซ ล ด ร - - - - ซ ล ด ร - ม ร ด ร ม ด ร - ม ร ด ร ม ร ม ล ซ ม ร
ซ ล ด ร - - - - ซ ล ด ร - ม ร ด ร ม ด ร - ม ร ด ร ม ร ม ล ซ ม ร
ซ ล ด ร - - - - - ซ – ซ - ด – ล ซ ล ด ซ - ร ด ล ซ ล ม ซ - ซ ซ ม
ร ม ด ร - - - - ซ ล ด ร - ม ร ด ร ม ด ร - ม ร ด ร ม ร ม ล ซ ม ร
ด ล ด ร - - - - ซ ล ด ร ม ด ม ร ด ล ซ ซ ซ ล ด ร ม ด ม ร ด ล ซ ซ









สังข์สินชัย (ลายน้อย)
(ร – ล)
- - - ร - - - ร - - - ร - - - ร - ด ล ร - ร - ด - ล ซ ล
- ด – ล ซ ล ด ร - ฟ ร ฟ - ซ ล ด - - - ฟ - ซ ล ด - ด – ฟ ซ ล ฟ ซ
- - - ซ - ฟ ร ซ - ซ – ม - ร ด ร - - - ซ - ฟ ร ซ - ซ – ม - ร ด ร
- - - ม - ม – ด - ม – ด ร ม ด ร - - - ซ - ม – ด - ม – ด ร ม ด ร
- ล ด ร ฟ ด ฟ ร ด ล ด ร - - - - - ล ด ร ฟ ด ฟ ร ด ล ซ ล - - - -

สังข์สินชัย (ลายใหญ่)
(ล – ม)
(เกริ่น)  ล ล ม / ล ซ ม / ม ซ ม ล / ด ซ ล ด / - ม ซ ด / ร ม ร ซ / ด ร ม ล / ม ซ ม ร / ม ด – ล / - - - -
- - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - ซ ม ล - ล – ซ - ม ร ม - - - ล
ซ ม ล - ล – ซ - ม ร ม - ซ – ม ร ม ซ ล - ด ล ด - ร ม ซ - - - ด
ร ม ซ - ซ – ด ร ม ด ร - - - ร - ด ล ร - ร – ท - ล ซ ล - - - ร
ด ล ร - ร – ท - ล ซ ล - - - ท - ท – ซ - ท – ซ ล ท ซ ล - - - ร
ท – ซ - ท – ซ ล ท ซ ล - ม ซ ล ด ซ ด ล ซ ม ซ ล - ม ซ ล ด ซ ด ล
ซ ม ร ม - - - ล - ซ ม ล - ล - ซ - ม ร ม - - - -
















ลำเพลิน (ลายใหญ่)
(ล – ม)
(เกริ่น)  ล ล ม ซ ล ซ – ม   ม ซ ม ล   ด ร ล ด – ล   ล ล ร ล ด ซ ล ม – ซ ม
- - - ซ - - ซ ซ ลซมรดล ท ร ท ร - ท ร ล - - ท ร มรทลซล - ด – ร
ล ซ ร ม ล ซ ม ร ด ล ซ ล - - - ม ซ ล ซ ล ด ร ม ร ด ล ซ ล - ซ - -
- ม ร ม - - ม ร ด ล ซ ล - - - ซ - ซ – ด ร ม ซ ท ล ซ ร ม - ล – ล
ซ ร ม ล - ด ล ด - ร ม ซ - ม ซ ล ล ม ซ ม ล - ด – ล ม ซ ล ล ม ซ ม ซ
- ด – ล - ร ด ล - ด – ซ - ล – ม - ล – ม - ซ – ร ม ร ด ล - ด  ล -
- ร – ม - ล – ม - ซ – ด ร ซ ร ม - ด ม ร - ม – ร ด ล ซ ล - ม ซ ร
- ม - ร ด ล ซ ล - - - -





แม่บทเล็ก  (รักแม่ม่าย)

- ล – ร - ด - ล ซ ม ซ ล ร ดํ ดํ ดํ - ซ – ด ท ด ร ม ซ ล ซ ม ซ ม ร ด
ซ ล ด ร ม ร ด ล ซ ม ซ ล ร ดํ ดํ ดํ - ซ – ด ท ด ร ม ซ ล ซ ม ซ ม ร ด
ฟ ม ฟ ซ ฟ ด ฟ ฟ ซ ล ด ซ ล ซ ฟ ม ซ ร ซ ด ท ด ร ม ซ ล ซ ม ซ ม ร ด














แขกกะริง
- - - - ด ด ด ด - ด – ร ม ร ซ ม - - - - ด ด ด ด - ด – ร ม ร ซ ม
- ซ ล ซ - ม ซ ม - ร ม ร ด ด ร ด - - - - ด ด ด ด - ด – ร ม ร ซ ม
- - - - ด ด ด ด - ด – ร ม ร ซ ม - ซ ล ซ - ม ซ ม - ร ม ร ด ด ร ด
ร ม ฟ ซ - ซ – ล ซ ล ด ซ - - - - ร ม ฟ ซ - ซ – ล ซ ล ด ซ - - - -
- ด ร ด - ล ด ล - ซ ล ซ ฟ ฟ ซ ฟ - - - - ร ม ฟ ซ - ซ – ล ซ ล ด ซ
- - - - ร ม ฟ ซ - ซ - ล ซ ล ด ซ - ด ร ด - ล ด ล - ซ ล ซ ฟ ฟ ซ ฟ




ลาวลำปางใหญ่

- - - ร - - - ซ - - - ล - ด – ร - ม - ล - ด – ร ซ ล ซ ม - ร – ด
- - - ล ล ล ล ล ด ร ด ล - ซ – ฟ - ซ ฟ ร - ฟ – ซ - - - ล - ด - ร
- - - - - - - ล - ด – ท - ล – ร - ด – ร - ท ร ล - ด – ท - ล – ร
- - - - ท ท ท ร ท ท ท ร - ซ ล ท - - - - - ซ ล ท ร ม ร ท - ล – ซ
- - - ล ท ล ซ ร - ซ – ด - ร – ซ - - - ล ท ล ซ ร - ซ – ด - ร – ซ
- ร ฟ ซ ฟ ร ฟ ด - ท – ล - ซ – ร - ร ฟ ซ ฟ ร ฟ ด - ท – ล - ซ – ร
- - - - ท ท ท ร ท ท ท ร - ซ ล ท - - - - - ซ ล ท ร ม ร ท - ล – ซ
- - - ล ท ล ซ ร - ซ – ด - ร – ซ - - - ล ท ล ซ ร - ซ – ด - ร – ซ
- ซ – ล - ท – ด - - - ด - ด ด ด - ม – ซ - ม – ร - - - ด ม ร ด ล
- - - ร ม ร ด ล - - - ซ ด ล ซ ฟ - - - ร - - ร ด - - ร ม - ซ – ร
- - - - - - - ล - ด – ท - ล – ร - ด – ร - ท ร ล - ด – ท - ล – ร
- - - - ท ท ท ร ท ท ท ร - ซ ล ท - - - - - ซ ล ท ร ม ร ท - ล – ซ
- - - ล ท ล ซ ร - ซ – ด - ร - ซ - - - ล ท ล ซ ร - ซ – ด - ร - ซ

ค้างคาวคาบกล้วย

- - ล ซ - ซ ซ ม - - ซ ม - - ร ม - - ซ ม - - ร ม ซ ม ร ด - ร ม -
- - ล ซ - ซ ซ ม - - ซ ม - - ร ม - - ซ ม - - ร ม ซ ม ร ด - ร ด -
- - - - - - ร ร - - - - - - ม ร ด ร - - ม ร ด ท ล ซ ล ท ล ท ด ร
- - - - - - ร ร - - - - - - ม ร ด ร - - ม ด ร ม ซ ม ร ด ร ด ท ล
- - - - - ล ล ล ซ ล ด ล ซ ม – ซ - - ม ล ซ ม – ซ ล ซ ม ซ ล ด – ล
- - - - - ล ล ล ซ ล ด ล ซ ม – ซ - - ม ล ซ ม – ซ - ม - ร ซ ม ม ม


ลาวลำปางเล็ก

- - - - - - - ร - - - ร - - - ซ - ล ซ ม - ร – ซ - ล ซ ม - ร – ด
- - - - - ม – ร - - - ท - ล – ซ - ล ซ ม - ซ – ล - - - ท - ด – ร
- - - - - ซ – ร ม ร ด ท ล ท ด ร - - - - - ซ – ร ม ร ด ท ล ท ด ร
- - - ซ - ซ ซ ซ - - - ม - - - ร - ซ – ม - ร – ด - - ท - - ด - -
- ท – ร - ท – ด - - - ล - - - ซ - - - - - - - ร - ฟ – ซ - ฟ – ซ
- - - ซ - ล – ร - ฟ – ซ - ฟ – ซ - - - - - - - - - - - - - - - -
- - - - - ซ ล ท ร ม ร ท - ล – ซ - - - - - ซ ล ท ร ม ร ท - ล – ซ
- - - ล ท ล ซ ร - - ซ ร - ซ – ด - - - - - ซ – ด - ร ด ล - ซ – ฟ
- - ฟ ร - ฟ - ซ - - - ล - ด – ร - - - ร - ซ – ร ม ร ด ท ล ท ด ร
- - - ซ - ซ ซ ซ - - - ม - - - ร - - ซ ม - ร – ด - - ท - - ด - -
- - - ร - ท – ด - - - ล - - - ซ - - - - - - - ร - - ฟ ซ - ฟ - ซ
- - - ซ - ล – ร - ฟ - ซ ล ซ ฟ ซ

คางคกปากบ่อ

- - - - - ล ล ล ด ล ซ ฟ - ซ - ร - - - - ล ล ล ล - ร – ด - ฟ ซ ล
- - - - ร ร ร ร ม ร ล ท - - ด ร - ด ม ร - ด – ท ล ซ ล ท - ล ล ล
- ซ ฟ ซ - ฟ ม ฟ - ม ร ม - ร ด ร - - - - ซ ซ ซ ซ ล ซ ร ม - ฟ – ซ
- ฟ ล ซ - ฟ – ม ร ด ร ม - ร ร ร

ลาวกระแต

1-มร ด - ม ร ด - ม ร ด - ล - ซ - ด ด ด - ซ - ล ซ ม ซ ล - ด - ด
- ล - - ด – ซ - ม ซ ล ซ ล ด ซ - ม ร ด - ซ – ล - ม ซ ล - ด – ร
- - - - - ซ – ล - ด – ร - - - - - - - ล - - - ซ - - - ม - - - ร
- ม ร ด - ร – ม - ซ – ม - ร – ด ม ร ด - - ซ – ล ซ ม ซ ล - ด ด ด
- ม ร ด ล ด ซ ล ร ม ซ ล ด ซ ซ ซ - - - - - - - - - - - - - - - -
2- ม ร ร ม ร ร ร - ม ร ร - ม ร ร - - - ซ - - - ล - - - ด - - - ร
- - - - - ซ – ล - ด – ร - - - - - ซ - - ม ซ – ม - - ร ด - ร – ด
- - - ซ ล ซ – ม - - ร ด - ร – ม - ซ - - ม ซ – ม ซ ม ร ด - ร - -
- ม ร ด - ซ – ล ซ ม ซ ล ซ ด ด ด ร ม ร ด - ซ – ล ด ม ซ ล ม ซ ม
3 – ม ซ ล ด ซ ล ด - - - - - - - - ม ร ด ล - ด – ร - - - - - - - -
ม ร ซ ด - ร – ม - - - - - - - - ด ร ม ซ - - - - ล ซ ม ร - - - -
- ม ร ด ซ ด ร ม ซ ล ซ ม ซ ม ร ด ร ม ร ด - ซ – ล ซ ม ซ ล ร ด - -
ซ ม ร ด ร ด ซ ล ซ ม ซ ล ด ซ ซ ซ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1718 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 1717 ครั้ง
 
 
  18 มิ.ย. 2552 เวลา 20:50:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   70) ภาพการแสดงของวิทยาลัยนาฏศิลป์  
  เทพสุรา    คห.ที่28)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
คุณวิท:
ดึงครก ดึงสาก (บอกตามตรง วศ.ร้อยเอ็ด เป็นคนคิดค้น เริ่มต้นการแสดงฟ้อนดึงครก ดึงสาก แต่ทำไมชุดที่ใส่ มันแปลก ๆ)

    
    ครับทำไมไส่ชุดเเปลกๆๆๆ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 1008 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 1008 ครั้ง
 
 
  10 ก.ค. 2552 เวลา 23:03:05  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   600) สาวผู้ดีหลวงสรวงสาพยาเเล  
  เทพสุรา    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
อาจารย์วัชระ   สวัสดิศรี   เป็นคนมาสอนการเเสดงชุดนี้เเก่พวกเราเองครับ
เพราะท่านมาสอนพิเศษที่นี่   เเละกระผมก็รู้จักท่านพอสมควร
ชื่อเล่นเรามักเรียกท่านว่า  อาจารย์  โจ้   บ้านท่านอยู่ที่ตัวเมืองเกษตรสมบูรณ์
กระผมได้ร่วมงานกับท่านหลายครั้งเเล้ว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 680 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 678 ครั้ง
 
 
  27 มิ.ย. 2552 เวลา 07:19:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   608) ไทพวน  
  เทพสุรา    คห.ที่0) ไทพวน      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
ประวัติการแสดง    นาฏศิลป์พื้นเมืองอนุรักษ์
ชุด  ไทพวน
ไทพวน  เป็นการแสดงที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นจากวิทยาลัย  นาฏศิลป์กาฬสินธุ์  ร่วมกับชมรมนาฏศิลป์พื้นบ้านหนองคาย   และกลุ่มอารยธรรมลำน้ำโขง   โดยยึดนำเอาศิลปะประเพณีและวัฒนธรรมของชาว  พวน   ซึ่งอาศัยอยู่ตามลำน้ำพวน  ของ   สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว   (ประเทศลาว)  โดยยึดถือนำเอาชาวพวนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นหลักในการคิดค้น   ในปีพุทธศักราช  2545   และกรมศิลปากรได้บรรจุเป็นการแสดงประเภทอนุรักษ์  การแสดงชุดพื้นบ้านภาคอีสานในปีพุทธศักราช   2548  ถูกต้องตามแบบแผนของกรมศิลปากรฉบับปรับปรุงพิเศษ   จึงถือได้ว่าการแสดงชุดไทพวน  เป็นการแสดงที่ทรงคุณค่าและควรแก่การอนุรักษ์ยิ่ง
ชุดการแต่งกาย
ชุดการแต่งกายประกอบด้วย   เสื้อสีดำ  มีแถบสี แต่งตามตัวและนำขิดมาแต่งค้าดหน้า  ผ้าถุงลายพวนตีนใหญ่   โพกหัว  ประดับ  เครื่องเงิน
ลักษณะของท่ารำ
ท่ารำเรียนแบบธรรมชาติ   และท่ารำที่มีดั้งเดิม   พร้อมกับท่ารำที่ประดิษฐ์ใหม่ตามหลักฐานที่หลงเหลือ  เช่น ท่าทวยแถน,แซงแซวเลอะหาด,ทำเครือเกี้ยว,ท่าเชื่อมสัมพันธ์,ท่านกบิน  เป็นต้น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 487 ครั้ง
จากสมาชิก : 6 ครั้ง
จากขาจร : 481 ครั้ง
 
 
  27 มิ.ย. 2552 เวลา 18:15:40  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   70) ภาพการแสดงของวิทยาลัยนาฏศิลป์  
  เทพสุรา    คห.ที่59)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
กระผมเป็นนักศึกษาอยู่ครับ  เเต่ชอบในศิลปะวัฒนธรรมอีสานมาก  เเละชอบศึกษาไห้เข้าใจอย่างถ่องเเท้  อ้ายโอ้ด  อ้ายโหวดฟ้า  เพิ่นก็เปรียบเหมือนครูคนหนึ่ง  เเต่กระผมชอบเรียกท่านว่าพี่  เพราะท่านยังหนุ่มๆ  อยู่เลย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 474 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 474 ครั้ง
 
 
  29 ก.ค. 2552 เวลา 10:01:38  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   583) ศีลธรรมนำผญา  
  เทพสุรา    คห.ที่0) ศีลธรรมนำผญา      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
    เผิ่นว่าบุญบาปนี้เป็นคู่คือเงา          เงานี้ไปตามเฮาสู่วันบ่มีเว้น
คั้นเเม่นเฮาพาเล่น                          พามันเต้นเเล่น
พามันเเอะเเอ่นฟ้อน                         เงานั้นกะเเล่นนำ
ยามเฮานั่งย่องย่อ                          เงากะนั่งลงตาม
ยามเฮาเอนหลังนอน                       กะเอนนอนลงด้วย
ยามเฮาโตนลงฮ้วย                        ภูผาไหลหลั่ง
ขึ้นต้นไม้                                     ผาล้านด่านเขา
เงากะติดตามเกี้ยว                          เกาะเกี่ยวพันธนัง
บ่ได้มียามเหิน                               ห่างไกลกันได้
อันได๋ฉันได๋เเท้                              ทั้งสองบุญกับบาป
มันกะติดตามก้นนำส้นผู้เผิ่นทำ  สั่นเเหล่ว   พี่น้องเอ๋ย        

 
 
สาธุการบทความนี้ : 461 ครั้ง
จากสมาชิก : 62 ครั้ง
จากขาจร : 399 ครั้ง
 
 
  16 มิ.ย. 2552 เวลา 13:08:51  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   20) ฟังนิทานก้อม หย่ำไนบักขามคั่ว  
  เทพสุรา    คห.ที่297)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
คุณท้าวจักกิด:
พ่อเฒ่าแสงเข้ามาในเมือง เพิ่นหิวข้าวหลายหาร้านขายข้าวแกงไม่เจอสักที ย่างมาได้โดนเติบ เห็นร้านหนึ่ง ก็ร้านขายข้าวแกงนั่นแหละ มีหม้อข้าวหม้อแกง จานชาม ตั้งหน้าร้านเต็มอยู่

พอย่างฮอดร้าน เพิ่นได้ยินเสียงวิทยุดังออกมาจากร้านว่า

"ที่นี่สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย"

เพิ่นฟ่าวกลับหลังหันเลย ฮ้องว่า

"ป้าดติโท้ กูว่าแม่นร้านขายข้าว"


    คนอีหยังคือฉลาดเเท้   สิได้กินข้าวบ่น้อ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 420 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 419 ครั้ง
 
 
  10 ก.ค. 2552 เวลา 23:01:09  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   20) ฟังนิทานก้อม หย่ำไนบักขามคั่ว  
  เทพสุรา    คห.ที่295)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
คุณวิไซ:
เช้ามืดในฤดูทำนาวันหนึ่ง หมอกลงจัดมาก ลูกเขยตัวแสบแบกไถไปนาที่อยู่ห่างบ้านพอสมควร พ่อตาก็ไปนาเหมือนกันโดยเดินตามหลังลูกเขย แต่ลูกเขยไม่รู้ ลูกเขยสัปดนร้องกลอนลำไปทั่วทีบทั่วแดน...

"เมื่อคืนนี่ฝันเป็นประหลาดต่าง ฝันว่าได้เฮ็ด(...)แม่เถ่า..."

พอดีงวกคืนหลังเห็นพ่อเถ่าย่างนำก้นมาเพิ่นต๊กใจอย่างแฮง เพิ่นหัวไวเติบร้องกลอนลำต่อทันทีว่า ...

"แม่เถ่าเก่าพู้นเด้อ พ่อลุงเอยย"......

      เอาโตรอดได้ดีเเถ่ครับ  ห่าพ่อเถ่าว่าเกิบพาไปเด้

 
 
สาธุการบทความนี้ : 414 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 414 ครั้ง
 
 
  04 ก.ค. 2552 เวลา 07:18:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   607) นาฏนารีศรีชัยวรมันต์  
  เทพสุรา    คห.ที่0) นาฏนารีศรีชัยวรมันต์      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
การแสดงชุด   นาฏนารีศรีชัยวรมันต์     (ระบำปรางค์กู่)

เป็นการแสดงที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นในเชิงสร้างสรรค์   โดยท่านผู้อำนวยการ   ดร. ศิริวรรณ   อาจศรี   ได้เล็งเห็นความสำคัญของโบราณสถานในจังหวัดชัยภูมิที่เกิดในสมัยขอมโบราณได้เรื่องอำนาจ   ปกคุมพื้นที่ภาคอีสานของประเทศไทยและเห็นได้ชัดก็คือ   กลุ่มปราสาทหิน  ในจังหวัดชัยภูมิ มี 2 แห่ง   คือ   ปรางค์กู่บ้านหนองบัว   อำเภอเมือง   จังหวัดชัยภูมิ   และปรางค์กู่บ้านหนองแฝก   อำเภอบ้านแท่น   จังหวัดชัยภูมิ   และได้ประชุมปรึกษากับคณะกรรมการวัฒนธรรมโรงเรียนและวงโปงลางพิณแคนแท่นวิทย์และได้มอบหมายให้   นายวัชระ   สวัสดิ์ศรี   ครูโรงเรียนกาญจนาภิเษก วิทยาลัย  ชัยภูมิ   ผู้ได้รับรางวัลศิลปินพื้นบ้านสาขานาฏศิลป์พื้นบ้านอีสาน  (โปงลาง)  ตำแหน่งกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ   ผู้มีความสามารถในเรื่องของการแสดงได้รับประดิษฐ์  คิดค้นท่ารำ  (ปรางค์กู่)  ขึ้นโดยนำภาพจำหลักที่มีอยู่ตามหน้า  บรรณาลัย  หน้าจั่ว  และหลังคา  ซุ้มประตู้ทางเข้าและแกะออกมาเป็นท่ารำ และดนตรีออกทางเขมร  ผสมกับอาณาจักรอีสาน  และจำลองตอนที่เจ้าชาย ชัยวรมันต์  ที่  7  เสด็จเยือนปรางค์กู่  โดยมีนางอัปสรและนางสนม บริวาน  เตรียมการต้อนรับถือว่าการแสดงชุดนี้  สื่อให้เห็นวัฒนธรรมอาณาจักรดั้งเดิมของจังหวัดชัยภูมิ  และ  ควรแก่การจรรโลง  สืบสานยิ่ง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 406 ครั้ง
จากสมาชิก : 45 ครั้ง
จากขาจร : 361 ครั้ง
 
 
  27 มิ.ย. 2552 เวลา 18:14:36  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   600) สาวผู้ดีหลวงสรวงสาพยาเเล  
  เทพสุรา    คห.ที่0) สาวผู้ดีหลวงสรวงสาพยาเเล      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 

การแสดงชุด ผู้ดีหลวงสรวงสาพระยาแล
ประวัติการแสดง

สาวผู้ดีหลวงสรวงสาพระยาแล  เป็นการแสดงที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นเพื่อสื่อให้เห็นถึงวิถี ประเพณี  วัฒนธรรมดั้งเดิมของชนชาวชัยภูมิ ผู้ดีหลวงในตำนานมีเชื้อสายเป็นคนลาวเวียงจันทน์ อพยพมาพร้อมกับนายแล มีแม่บุญมีภรรยานายแลเป็นหัวหน้านำพาปลูกหม่อน เลี้ยงไหม ปักนอ ทอหูก เมื่อมีงานประเพณีหรือมีคนมาเยือนชัยภูมิ ก็พาคนจัดทำบายศรีหลวง ต้อนรับจนปรากฏในงานประเพณีบุญเดือนหก ศาลเจ้าพ่อ
พระยาแล ประเพณีที่สำคัญก็คือ การแห่บายศรี 7 ชั้นขึ้นถวายศาล ตามประวัติหลักฐานทางอารยธรรมต่างๆ ของชาวจังหวัดชัยภูมิ เพื่อรำลึกถึงคุณงานความดีของบรรพบุรุษ จึงจัดทำการแสดงชุดนี้ขึ้น เพื่อยกย่องกุลสตรี ที่เพียบพร้อมด้วยความงามทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ความจงรักภักดีที่มี ต่อเจ้าพ่อพระยาแล เจ้าเมืองคนแรกจนมาถึงปัจจุบันยังไม่มีวันขาดหาย และเป็นแบบอย่างแก่ลูกหลานชาวชัยภูมิอย่างแท้จริง


แรงบันดาลใจ

การแสดงชุด ผู้ดีหลวงสรวงสาพระยาแล เกิดขึ้นจากอยากนำศิลปวัฒนธรรม ของชัยภูมิเผยแพร่ผ่านการแสดงทางนาฏศิลป์พื้นบ้าน  โรงเรียนบ้านแท่นวิทยาโดยการนำของดร. ศิริวรรณ  อาจศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแท่นวิทยา ได้ประชุมปรึกษาหารือกับคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมได้จัดทำการแสดงชุดนี้ขึ้นเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ จังหวัดชัยภูมิและจรรโลงวัฒนธรรมชัยภูมิให้ชนรุ่นหลังได้มีโอกาสสืบทอดต่อไป ทางคณะกรรมการ  ได้เชิญนายวัชระ  สวัสดิ์ศรี ครูสอนดนตรีนาฏศิลป์พื้นเมือง โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย ชัยภูมิ และดำรงตำแหน่งกรรมการบริสภาวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ ศึกษาประวัติเมืองชัยภูมิ และจัดทำชุดการแสดงที่สวยงาม ที่แฝง วัฒนธรรม ของชาวจังหวัดชัยภูมิ ที่ควรแก่การดูแลรักษา ให้อยู่คู่กับจังหวัดชัยภูมิ ตลอดไป

 
 
สาธุการบทความนี้ : 382 ครั้ง
จากสมาชิก : 31 ครั้ง
จากขาจร : 351 ครั้ง
 
 
  24 มิ.ย. 2552 เวลา 21:27:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   611) งานนมัสการพระเเท่นบังลังก์  
  เทพสุรา    คห.ที่0) งานนมัสการพระเเท่นบังลังก์      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


เป็นงานประจำปี   ช่วงวันที่  6  -   8  เมษาครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 365 ครั้ง
จากสมาชิก : 65 ครั้ง
จากขาจร : 300 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 14:19:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   611) งานนมัสการพระเเท่นบังลังก์  
  เทพสุรา    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


มีอีมากครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 347 ครั้ง
จากสมาชิก : 62 ครั้ง
จากขาจร : 285 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 14:24:35  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   607) นาฏนารีศรีชัยวรมันต์  
  เทพสุรา    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


ได้ละครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 345 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 345 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 12:09:38  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   35) ฟ้อนกลองตุ้ม-ฟ้อนหมากกั๊บแก้บลำเพลิน  
  เทพสุรา    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


เเข่งทักษะที่เเก้งคร้อครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 339 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 338 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 23:26:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   604) อีสานบ้านเฮา  
  เทพสุรา    คห.ที่0) อีสานบ้านเฮา      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


  
ภาคอีสานเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณี   แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นแต่ละจังหวัด  ศิลปวัฒนธรรมเหล่านี้เป็นตัวบ่งบอกถึงความเชื่อ  ค่านิยม  ศาสนาและรูปแบบการดำเนินชีวิตตลอดจนอาชีพของคนในท้องถิ่นนั้นๆได้เป็นอย่างดี  สาเหตุที่ภาคอีสานมีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมประเพณีส่วนหนึ่งอาจจะเป็นผลมาจาก  การเป็นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเชื้อชาติ  และมีการติดต่อสังสรรค์กับประชาชนในประเทศใกล้เคียง   จนก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมขึ้น  เช่น  ประชาชนชาวอีสานแถบจังหวัดเลย  หนองคาย  นครพนม  มุกดาหาร  อุบลราชธานี  อำนาจเจริญ ที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศลาว  ประชาชนของทั้งสองประเทศมีการเดินทางไปมาหากัน   ทำให้เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมและประเพณีระหว่างกัน  ซึ่งเราจะพบว่าชาวไทยอีสานและชาวลาวแถบลุ่มแม่น้ำโขงมีศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่คล้ายๆกัน  และรูปแบบการดำเนินชีวิตก็มีความคล้ายคลึงกันด้วย   รวมทั้งชาวเวียดนามที่อพยพเข้ามาในช่วงสงครามเวียดนาม ก็ได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามเข้ามาด้วย  ถึงแม้ปัจจุบันชาวเวียดนามเหล่านี้จะได้ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมของท้องถิ่นอีสาน (เพื่อให้การดำรงชีวิตเป็นไปอย่างราบรื่น)   โดยเฉพาะชาวเวียดนามที่เป็นวัยรุ่นในปัจจุบันได้รับการศึกษาที่ดีเหมือนกับชาวไทยทุกประการ  จนแทบแยกไม่ออกว่าเป็นคนไทยอีสานหรือคนเวียดนามกันแน่   ส่วนใหญ่ก็จะเห่อวัฒนธรรมตะวันตก(เหมือนเด็กวัยรุ่นของไทย)จนลืมวัฒนธรรมอันดีงามของตัวเอง  แต่ก็ยังมีชาวเวียดนามบางกลุ่มส่วนใหญ่เป็นคนสูงอายุยังคงยึดมั่นกับวัฒนธรรมของตนเองอยู่อย่างมั่นคง  ท่านสามรถศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิตแบบเวียดนามได้ตามชุมชนชาวเวียดนามในจังหวัดที่กล่าวมาแล้ว  ส่วนประชาชนที่อยู่ทางจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์  ศรีสะเกษ นครราชสีมา  มีการติดต่อกันกับประชาชนชาวกัมพูชาก็จะรับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามาประยุกต์ใช้  ซึ่งส่วนใหญ่แล้ววัฒนธรรมประเพณีของคนทั้งสองเชื้อชาติก็มีความคล้ายคลึงกันอยู่แล้ว  จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าภาคอีสานเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมต่างๆ ก็มีความแตกต่างกันตามแต่ละท้องถิ่นและแตกต่างจากภูมิภาคอื่นๆของไทยอย่างเห็นได้ชัด   ทั้งวัฒนธรรมทางด้านการดำรงชีวิตและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา  ซึ่งเราสามารถสังเกตรูปแบบวัฒนธรรมที่ดีงามของชาวอีสานผ่านทางประเพณีต่างๆที่ชาวอีสานจัดขึ้นซึ่งสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมอีสานได้เป็นอย่างดี

1

 
 
สาธุการบทความนี้ : 336 ครั้ง
จากสมาชิก : 46 ครั้ง
จากขาจร : 290 ครั้ง
 
 
  27 มิ.ย. 2552 เวลา 13:21:40  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   67) ฟ้อนบายศรีสู่ขวัญ วงแคน มมส.  
  เทพสุรา    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
เเล้วบายศรีลาวละครับ อยากได้รายละเอียด เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา

เพราะกระผมได้ถนัดเรื่องเสื้อผ้าเเต่ชอบเกี่ยวกับประวัติศาสตร์  ซะมากกว่า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 326 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 326 ครั้ง
 
 
  29 ก.ค. 2552 เวลา 10:17:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   614) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์  
  เทพสุรา    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


การเเสดงชุด   สารภัญญะเฉลิมพระเกียรติ  โดยนำเอาทำนองมาจาก
มมส.  จากการเเสดงชุดสักการะพระมิ่งเมือง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 318 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 315 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 22:28:37  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   35) ฟ้อนกลองตุ้ม-ฟ้อนหมากกั๊บแก้บลำเพลิน  
  เทพสุรา    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


ภาพหลุดๆ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 302 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 302 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 23:34:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   55) สุดสะแนน  
  เทพสุรา    คห.ที่19)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:
การโยนลูกช่วงของชาวไทดำ จังหวัดเลย





แสมะกอน (แส แปลว่า ฟ้อนรำ) เป็นการแสดงหลังจากลงพื้นที่หาข้อมูลเพื่อทำเป็นชุดการแสดง ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครับ

ภาพจาก http://www.isan.clubs.chula.ac.th/webboard/index.php?transaction=post_view.php&room_no=0&id_main=640&star=10


เป็นการไห้ความรู้ที่เเตกฉาน
เเละเเสดงถึงการเข้าใจในวัฒนธรรมอีสานบ้านเฮา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 295 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 295 ครั้ง
 
 
  14 มิ.ย. 2552 เวลา 22:42:20  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   614) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์  
  เทพสุรา    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


การเเสดงชุด  ตีกลองน้ำลำเพลิน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 285 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 285 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 22:25:51  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   143) ร้อยกรองกวีกานต์ ร้อยกลอนกวีกัน  
  เทพสุรา    คห.ที่82)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
       คึดฮอดตอนเป็นเด็ก  
                          
                   พ่อจากไปร่ำรุ่งของพรุ่งนี้       ลูกคนดีจงฟังพ่อสังสอน
       พ่อจากไปไช่พ่อจะตัดรอน                 พ่อเดือดร้อนเงินตรามาไห้เรียน
       ชนบทบ้านป่าหาเงินยาก                  ทั้งลำบากภารมากสิ่งขีดเขียน
       พ่อจากไปเงินพ่อส่งเเวะเวียน              จงตั้งใจพากเพียรนะลูกชาย
                              
                   ด้วยมือพ่อเติมต่อปรารถนา     ตัดกล้วยมาทำม้าไห้ข้าขี่
        ทั้งปืนกลนกล้านกล้วยก็สวยดี            เหมาะมือที่จะสู้รบกับไพริน
        เสียงคำสอนพ่อสั่งยังดังเเว่ว              ลูกผู้ชายไม่เเคล้วต้องจากถิ่น
        สู่ดลกกว้างทางไกลในเเผ่นดิน            เสาะเเละสู้อย่ารู้สิ้นซึ่งเเรงใจ
    
                เทพสุรา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 280 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 278 ครั้ง
 
 
  17 มิ.ย. 2552 เวลา 13:46:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   611) งานนมัสการพระเเท่นบังลังก์  
  เทพสุรา    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


ใบเสมา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 280 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 280 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 22:30:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   616) ศิษย์ไหม่ จั้ม ขอฝากเนื้อตัวและหัวจัยดวงน้อยๆ ด้วยเด้อจร้า  
  เทพสุรา    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
รู้สึกว่าชือ เทพสุรา  จะมีคนรู้จักเยอะมาก  โดยเฉพาะเเถบบ้านเเท่น
ท่านคิดดูดิ  วงเทพสุรานี้มีสมาชิกเยอะจริง  เชิญได้ทุกคนเด้อ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 280 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 280 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 23:26:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   614) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์  
  เทพสุรา    คห.ที่0) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


นักเเสดงวง  พิณเเคนเเท่นวิทย์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 279 ครั้ง
จากสมาชิก : 23 ครั้ง
จากขาจร : 256 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 22:21:45  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   611) งานนมัสการพระเเท่นบังลังก์  
  เทพสุรา    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


อีกภาพ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 277 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 277 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 22:29:09  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   35) ฟ้อนกลองตุ้ม-ฟ้อนหมากกั๊บแก้บลำเพลิน  
  เทพสุรา    คห.ที่13)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


รูปเดี่ยว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 276 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 276 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 23:30:57  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   608) ไทพวน  
  เทพสุรา    คห.ที่28)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


2. อืมๆ...แล้วไหนล่ะว่าจะถ่ายเสื้อผู้ชายไทพวนมาให้ดู รอเป็นเดือนแล้วนะ (-_-)
    
   เรื่องนี้ปังคุงต้องเคลียละครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 276 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 276 ครั้ง
 
 
  29 ก.ค. 2552 เวลา 11:58:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   143) ร้อยกรองกวีกานต์ ร้อยกลอนกวีกัน  
  เทพสุรา    คห.ที่96)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


    เป็นหยาดฝนชื่นฉ่ำในยามเศร้า
เป็นดอกไม้ยามเหงาในคราวฝัน
เป็นน้ำค้างพรางพรมกลางเเสงจันทร์
เป็นไออุ่นเเห่งตะวันนิรันคร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 270 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 270 ครั้ง
 
 
  27 มิ.ย. 2552 เวลา 07:50:07  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   606) หมอลำ  
  เทพสุรา    คห.ที่0) หมอลำ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
  หมอลำ
"ลำ" สามารถมองออกได้ในสองลักษณะเพื่อหาความหมายคือ แสดงออกเป็นกิริยา หมายถึงการขับร้อง คือ การนำเอาเรื่องราวในวรรณคดีมาขับร้องเป็น บทกลอนทำนองทีเป็นภาษาอีสาน แสดงออกเป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรื่องของการขับร้องหรือการแสดงที่เป็นเรื่องราว"หมอลำ" หมายถึง ผู้ที่มีความชำนาญในการขับร้องวรรณคดีอีสาน โดยการท่องจำเอากลอน มาขับร้อง หรือผู้ที่ชำนาญในการเล่านิทานเรื่องนั้น เรื่องนี้ หลาย ๆ เรื่อง
วิวัฒนาการของหมอลำ
            เดิมทีสมัยโบราณในภาคอีสานเวลาค่ำเสร็จจากกิจธุรการงานมักจะมาจับกลุ่มพูดคุยกัน กับผู้เฒ่าผู้แก่เพื่อคุยปัญหาสารทุกข์สุกดิบและผู้เฒ่าผู้แก่นิยมเล่านิทานให้ลูกหลานฟัง นิทานที่นำมาเล่าเกี่ยวกับจารีตประเพณีและศีลธรรม ทีแรกนั่งเล่าเมื่อลูกหลานมาฟังกัน มากจะนั่งเล่าไม่เหมาะ ต้องยืนขึ้นเล่า เรื่องที่นำมาเล่าต้องเป็นเรื่องที่มีในวรรณคดี เช่นเรื่องกาฬเกษ สินชัย เป็นต้น ผู้เล่าเพียงแต่เล่า ไม่ออกท่าออกทางก็ไม่สนุกผู้เล่าจึงจำเป็นต้องยกไม้ยกมือแสดงท่าทางเป็น พระเอก นางเอก เป็นนักรบ เป็นต้น เพียงแต่เล่าอย่างเดียวไม่สนุก จึงจำเป็นต้องใช้สำเนียงสั้นยาว ใช้เสียงสูงต่ำ ประกอบ และหาเครื่องดนตร ีประกอบ เช่น ซุง ซอ ปี่ แคน เพื่อให้เกิดความสนุกครึกครื้น ผู้แสดงมีเพียงแต่ผู้ชายอย่างเดียวดูไม่มีรสชาติเผ็ดมัน จึงจำเป็นต้องหา ผู้หญิงมาแสดงประกอบ เมื่อ ผู้หญิงมาแสดงประกอบจึงเป็นการลำแบบสมบูรณ์ เมื่อผู้หญิงเข้ามาเกี่ยวข้องเรื่องต่าง ๆ ก็ตามมา เช่น เรื่องเกี้ยวพาราสี เรื่องชิงดีชิงเด่นยาด (แย่ง) ชู้ยาดผัวกัน เรื่องโจทย์ เรื่องแก้ เรื่องประชัน ขันท้า เรื่องตลกโปกฮาก็ตามมา จึงเป็นการลำสมบูรณ์แบบ จากการมีหมอลำชายเพียงคนเดียวค่อย ๆ พัฒนาต่อมาจนมีหมอลำฝ่ายหญิง มีเครื่อง ดนตรีประกอบจังหวะเพื่อความสนุกสนาน จนกระทั่งเพิ่มผู้แสดงให้มีจำนวนเท่ากับตัวละครใน เรื่อง มีพระเอก นางเอก ตัวโกงตัวตลก เสนา ครบถ้วน

หมอลำกลอน
            หมอลำกลอน เป็นศิลปะการแสดงที่เก่าแก่อันหนึ่งของอีสานลักษณะเป็นการลำ ที่มีหมอลำชายหญิงสองคนลำสลับกันมีเครื่องดนตรีประกอบเพียงชนิดเดียว คือแคน
การลำมีทั้งลำเรื่องนิทานโบราณคดีอีสาน เรียกว่า ลำเรื่องต่อกลอนลำทวย (ทายโจทย์) ปัญหา ซึ่งผู้ลำจะต้องมีปฏิภาณไหวพริบที่ดีสามารถตอบโต้ ยกเหตุผลมาหักล้างฝ่ายตรงข้ามได้ ต่อมามีการเพิ่มผู้ลำขึ้นอีกหนึ่งคนอาจเป็นชายหรือหญิงก็ได้ การลำจะเปลี่ยนเป็นเรื่อง ชิงรักหักสวาท ยาดชู้ยาดผัว เรียกว่า ลำชิงชู้ปัจจุบันกลอนนั้นหาดูได้ยากเพราะขาดความนิยมลงไปมากแต่ว่าปัจจุบันได้วิวัฒนการมาเป็นหมอลำซิ่งเพื่อความอยู่รอดและผลก็คือได้รับความนิยมในปัจจุบัน

หมอลำกลอนซิ่ง
หมอลำกลอนซิ่งเป็นศิลปะการแสดงของชาวอีสานโดยได้นำเอาศิลปะที่มีมาตั้งแต่เดิมมาดัดแปลงประยุกต์ให้ทันสมัยคือนำเอาหมอลำกลอนซึ่งแต่เดิมนั้นเป็นการลำประกอบ
แคนเพียงอย่างเดียวมาประยุกต์เข้าดนตรีชิ้นอื่น ๆ เช่น พิณ เบส และกลองชุด จนได้รับความนิยมปัจจุบันได้มีการนำเอาเครื่องดนตรีสากลเช่น ออร์แกนคีย์บอร์ดมาประยุกต์เล่นเป็นทำนองหมอลำ ทำให้จังหวะสนุกคึกครื้น ประกอบกับการนำเพลงสากลเพลงสตริงเพลงลูกทุ่งที่กำลังฮิตมาประยุกต์เข้าด้วยลำซิ่ง เป็นวิวัฒนาการของลำคู่ (เพราะใช้หมอลำ 2-3 คน) ใช้เครื่องดนตรี สากลเข้าร่วมให้จังหวะเหมือนลำเพลิน มีหางเครื่องเหมือนดนตรีลูกทุ่ง กลอนลำสนุกสนานมีจังหวะอันเร้าใจ ทำให้ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว หมอลำกลอนซิ่งในปัจจุบันได้กลายเป็นธุรกิจความความบันเทิงที่ได้รับความนิยม อีกแขนงหนึ่ง ที่ชาวอีสานนิยมจ้างไปเป็นมหรสพสมโภชน์งานที่ได้จัดขึ้นในโอกาสต่าง ๆรูปแบบการแสดง จะเป็นการร้องรำทำนองหมอลำประยุกต์กับเพลงที่สนุก โดยมีหมอลำฝ่ายชายคอยร้องแก้กับ หมอลำฝ่ายหญิง พร้อมกับ การ โชว์ลีลา การร่ายรำที่อ่อนช้อยงดงามและมีหมอแคนเป่าแคนประกบอยู่ข้าง ๆเพื่อคอยคลอแคนให้หมอลำไม่หลงคีย์เสียงของตนเองซึ่งหมอลำแต่ละคนจะมีหมอแคนประจำตัวของตัวเองปัจจุบัน วงหมอลำซิ่งใหญ่ ๆ จะมีหางเครื่องเพื่อเพิ่มสีสันอีกด้วย การว่าจ้าง เจ้าภาพจะเป็นคนจับคู่หมอลำเอง เพื่อจะได้เห็นการร้องแก้กันด้วยความสนุกสนานและมีไหวพริบ

หมอลำหมู่ หมอลำเพลิน
เป็นการลำที่มีผู้แสดงครบหรือเกือบจะครบตามจำนวนตัวละครในเรื่องที่ดำเนินการแสดงมีอุปกรณ์ประกอบทั้งฉาก เสื้อผ้าสมจริงสมจังและยังมี.เครื่องดนตรีประกอบ
แต่เดิมทีมีหลัก ๆคือ พิณ (ซุง หรือ ซึง) แคน กลอง การลำจะมี 2 แนวทาง คือ ลำเวียง จะเป็นการลำแบบลำกลอนหมอลำแสดงเป็นตัวละครตามบทบาทในเรื่อง การดำเนินเรื่อง ค่อนข้างช้า แต่ก็ได้ อรรถรสของละครพื้นบ้าน หมอลำได้ใช้พรสวรรค์ของตัวเองในการลำ ทั้งทางด้านเสียงร้อง ปฏิภาณไหวพริบ และความจำ เป็นที่นิยมในหมู่ผู้สูงอายุ ต่อมาเมื่อดนตรีลูกทุ่งมีอิทธิพลมากขึ้นจึงเกิดวิวัฒนาการของ ลำหมู่อีกครั้งหนึ่ง โดยได้ประยุกต์ กลายเป็น ลำเพลิน ซึ่งจะมีจังหวะที่เร้าใจชวนให้สนุกสนาน ก่อนการลำเรื่องในช่วงหัวค่ำจะมีการนำเอารูปแบบของ วงดนตรีลูกทุ่งมาใช้เรียกคนดู กล่าวคือ จะมีนักร้อง(หมอลำ) มาร้องเพลงลูกทุ่งหรือบางคณะหมอลำได้นำเพลงสตริง ที่กำลังฮิตในขณะนั้น มีหางเครื่องเต้นประกอบ นำเอาเครื่อง ดนตรีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เช่น กีตาร์ คีย์บอร์ด แซ็กโซโฟน ทรัมเปต และกลองชุด โดยนำมาผสมผสานเข้ากับเครื่องดนตรีเดิมได้แก่ พิณ แคน ทำให้ได้รสชาติของดนตรีที่แปลกออกไป ยุคนี้นับว่า หมอลำเฟื่องฟู มากที่สุดคณะหมอลำดัง ๆ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแถบจังหวัดขอนแก่น มหาสารคามอุบลราชธานี หมอลำหมู่สามารถแบ่งตามทำนองของบทกลอนลำได้อีกซึ่งแต่ละทำนองจะออกเสียงสูงต่ำ ไม่เหมือนกัน ได้แก่ ทำนองขอนแก่น ทำนองกาฬสินธิ์ มหาสารคาม ทำนองอุบล เป็นต้น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 268 ครั้ง
จากสมาชิก : 84 ครั้ง
จากขาจร : 184 ครั้ง
 
 
  27 มิ.ย. 2552 เวลา 14:41:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   56) อะไรคือ "กลองน้ำ"  
  เทพสุรา    คห.ที่10) เนื้อเพลง      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
เนื้อเพลง    ตีกลองน้ำ (ลำเพลิน)

เกริ่น........ตีละน้อกลองน้ำ.....................เสียงดังตุ่มตะตีเติน   น้องตีปานยาวๆ ละพองตีคาวเยิ่นๆ  เสียงแฮงฮ้องปากเอิ้น.....................พี่เล่ากาย.................นี่ละน่า
         *   ผู้ชายนี้รักไม่จริง    รักไม่จริงละหลอกหญิงทำไม    น้องตีกลองน้ำเสียงดังตุ่มตะตีเติน  ละน้องกวกมือเรียกเอิ้นพี่ชายอ้ายผัดหย่างกายหลอกให้น้องหลงใหลแล้วทำไมจึง    ทำเฉยเมย    แล้วๆทำไมจึงทำเฉยเมย  หรือเจิดเจ้ยไปนุงหนิงหญิงอื่นสาวลำชีสะอื้นหน้าหน่ายหน่ายหนี     สาวท่านี้บ่สมพี่สั่นบ่ชาย   จึงหย่างกายทันทีบ่หวนตีน้อกลองน้ำ    กลองน้ำเอ๋ยกลองน้ำ           กลองน้ำเอ๋ยกลองน้ำ
       **   ตุ่มเตินเตินตะตุ่มเติน   ตะตุ่มเตินเตินตะตุ่มเติน    ชายใดมาเอิ้นนวลนางน้องบ่สม      
ละบ่แม่นแฟนอีน้องไผ่สิเอิ้นกะซ่างตาม   โอ้ว่าพ่องามขำลืมสาวหมอลำแล้วบ่คุณพี่                   ลืมสาวหมอลำที่คบมา   10   ปี ฟังความพี่บ่จริงใจจักอย่างพี่มาฮักแล้วฮ่างสร้างแล้วบ่จำตุ่มแล้วตัมละเติดเติงตึงตังสาวหมอลำผิดหวังแล้วจั่งได๋ตีกลองน้ำ    กลองน้ำเอ๋ยกลองน้ำ                        กลองน้ำเอ๋ยกลองน้ำ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 267 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 267 ครั้ง
 
 
  18 มิ.ย. 2552 เวลา 20:56:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   61) อะไรคือที่มาของชื่อ "ปู่ ป๋า หลาน"  
  เทพสุรา    คห.ที่14)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
คุณโหวดฟ้า:
มีรูปบ่ เอามาลงเบิ่งแหน่

บ่ได้ไปโฮมนำครับ เอาไว้โอกาสหน้าเด้อ

ได้ยินว่า เล่นสามโมงเช้า ผมตื่นบ่ายโมงครับวันนั้น ไปเล่นอยู่ อบต บ้าเพชร ใกล้ๆบ้านแท่นนั่นละครับ เสร็จเกือบตีสอง กลับถึง ชย ตีสี่กว่าครับ เดี๋ยวจะนำภาพมาให้ชม มีการบรรเลงแบบ คอนเทมพ์ด้วย มันส์มากครับ โหวดอีสานปะทะระนาดไทย

    

อาจารย์บ่ทันเอาลงครับ  เดียวเอามาไห้ดู

 
 
สาธุการบทความนี้ : 267 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 267 ครั้ง
 
 
  10 ก.ค. 2552 เวลา 23:07:46  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   600) สาวผู้ดีหลวงสรวงสาพยาเเล  
  เทพสุรา    คห.ที่13)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


ชุดสาวผู้ดีหลวงสรวงสาพยาเเล

 
 
สาธุการบทความนี้ : 266 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 266 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 22:33:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   586) บ้านเเท่นคับ  
  เทพสุรา    คห.ที่0) บ้านเเท่นคับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
                                       ผญาของดีบ้านแท่น

พี่น้องเอ้ย...อย่าสิมัวเมาเลี้ยว ให้เหลียวมาก้ำบ้านแท่น
อยู่ติดเขตขอนแก่น ตาเวนออกฝ่ายพู้น ให้ไปเยี่ยมเบิ่งแยง
ป่าหมากเขือหมากแข้ง กะหล่ำห่อบ้านหัวนา
ม้าก้านพร้าวก้านตาลบ้านสามสวนทำมา เป็นของดีเหลือล้น
ประชาชนพากันไหว้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านแท่น
เฮาพากันหวงแหน หลวงปู่แท่นคู่บ้าน หลานขอไหว้พ่อปู่คิง
เป็นคือโพธิ์ไทรต้น ใบดกนกเค้าแก่น
คันแม่นใบบ่ดกคันแม่นกกบ่หมั่น หมู่นกเค้าบ่แก่นเป็น
เฮาจึงได้เลือกเฟ้นเอาของดีมาโอ้อวด ให้มันสวดจุ้มกุ้ม
ต่อตาท่านคู่สู่ทาง
มีปรางค์กู่คู่บ้าน อารยธรรมขอมแต่เก่าแก่
บ้านหนองแฝกเด้อแม่ หม่องบ่อนอยู่ที่ตั้งฮักษาไว้ซอยกัน
ผ้าเกร็ดเต่าว่านั้น ไหมค่าราคาสูง
มาเด้อลุงอาวอา มาซอยกันฮักษาไว้

เอาฮานี้...เรื่องผ้าไหมเซาเอาไว้ หันมาคุยเรื่องอื่นๆ
หมากส้มโอเป็นหมื่นๆ กองขายอยู่จุ้มกุ้มให้มาเกื้อซอยหนุน
คันแม่นบุญพารวย สิมั่งมีเงินล้าน
เป็นจั่งได๋น้อท่าน ฟังมานานเปิดแล้วไป่
บ้านหนองหลอดเด้อยาย หมากส้มโอว่านั้นของแซบอร่อยหวาน
จั่งขอเซินทุกท่าน ให้หันมาก้ำบ้านแท่น
มาเที่ยวยังดินแดนพุทธภูมิฝ่ายพี่ ขอเซินท่านคู่สู่คน  สาแหล่ว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 265 ครั้ง
จากสมาชิก : 12 ครั้ง
จากขาจร : 253 ครั้ง
 
 
  16 มิ.ย. 2552 เวลา 23:21:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   600) สาวผู้ดีหลวงสรวงสาพยาเเล  
  เทพสุรา    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
การแสดงพื้นเมืองอนุรักษ์
ชุดฟ้อนภูไทโพนสว่าง

ท่าที่1 ท่าออก มือทั้งสองจีบข้างลำตัวด้านซ้ายแล้วนำมาปล่อยจีบด้านขวาตั้งวงระดับเอว เท้าทั้งสองก้าวตามจังหวะ ซ้าย – ขวานับเป็นหนึ่งท่า ปฏิบัติจำนวน 13 ชุด

   ท่าที่2 มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาจีบที่ชายพกก้าวเท้าซ้ายเท้าขวาแตะหลังเขย่งขึ้นลง 3 จังหวะแล้วเปลี่ยนด้านปฏิบัติสลับกันจำนวน 4 ชุด

   ท่าที่ 3 ก้าวเท้าซ้ายยกขาขวาตั้งฉาก มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายจีบระดับเอวข้างลำตัวเปลี่ยนมือที่จีบตั้งวงเปลี่ยนมือที่ตั้งวงเป็นจีบมืออยู่ในระดับเดิมสลับไป มา 3 จังหวะแล้วปฏิบัติสลับอีกด้านหนึ่งจำนวน 4 ชุด

   ท่าที่ 4 ก้าวเท้าซ้ายยกเท้าขวามือทั้งสองจีบม้วนเปลี่ยนเป็นตั้งวงระดับชายพกด้านหน้าก้าวเท้าขวายกไขว้ไปด้านหน้าเท้าซ้ายแตะหลังเปิดส้นเท้า มือขวาจีบด้านหน้าระดับไหล่ มือซ้ายจีบด้านหลังระดับเอวม้วนมือทั้งสองเปลี่ยนเป็นตั้งวงระดับเดิมมือขวาตั้งวงเหมือนเดิมวาดมือซ้ายจีบมาด้านหน้าระดับเดียวกันกับมือขวา ทิ้งจีบปล่อยลงหลังแล้วตั้งวงหลังระดับเอวปฏิบัติสลับกันจำนวน 4 ชุด

    ท่าที่ 5 ก้าวเท้าขวายกเท้าซ้ายมือทั้งสองจีบม้วนตั้งวงข้างลำตัวด้านขวา เปลี่ยนมือทั้งสองจีบม้วนแล้วตั้งวงระดับเอวด้านขวาก้าวเท้าขวาไขว้ไปข้างหน้า มือทั้งสองจีบม้วนตั้งวงมือซ้ายวางระดับไหล่ด้านหน้า มือขวาวางระดับเอวด้านหลัง แล้วถอนเท้าว้ายยกขาขวาตั้งแกมือทั้งสองจีบม้วนเข้าหาตัวตั้งวง มือซ้ายตั้งวงบนมือขวาตั้งวงล่างปฏิบัติสลับกันจำนวน 4 ชุด

   ท่าที่6 ก้าวเท้าซ้ายเท้าขวาแตะหลัง มือซ้ายจีบม้วนตั้งวงบน มือขวาจีบหงายแทงมือลงข้างลำตัวระดับชายพกเขย่งหลัง 1จังหวะแล้วเปลี่ยนก้าวเท้าขวาเท้าซ้ายแตะหลังมือขวาม้วนจีบเข้าหาตัวเปลี่ยนเป็นตั้งวงบน มือซ้ายนำมาจีบหงายที่ชายพก (อยู่ในท่าสอดสร้อยมาลา) เขย่งหลัง 1 จังหวะแล้วเปลี่ยนก้าวเท้าซ้ายเท้าขวาวางหลังมือซ้ายเปลี่ยนเป็นตั้งวงบน มือขวาจีบหงายระดับชายพก(อยู่ในท่าสอดสร้อยมาลา) เขย่งหลัง 1 จังหวะและหมุนรอบตัวไปทางมือที่จีบ (ครั้งแรกด้านขวาก่อน)เท้าก้าว ขวา-ซ้าย-ขวา มือซ้ายที่ตั้งวงกระดกวงตามจังหวะ 1-2-3-4 ปฏิบัติสลับกันจำนวน 4 ชุด

    ท่าที่ 7 ก้าวเท้าซ้ายเท้าขวาแตะหลังเขย่ง 1 จังหวะ มือทั้งสองแทงมือข้างลำตัวส่งหลัง ก้าวเท้าขวาเท้าซ้ายแตะหลังเขย่ง 1 จังหวะมือทั้งสองนำมาจีบที่ไหล่ทั้งสองข้าง ก้าวเท้าซ้ายเท้าขวาแตะหลังเขย่ง 1 จังหวะมือทั้งสองจีบปกข้างม้วนเข้าหาลำตัวแล้วปล่อยจีบออกเป็นตั้งวงบนปฏิบัติสลับกันจำนวน 4 ชุด

    ท่าที่ 8 มือขวาจีบที่ไหล่ขวา มือซ้ายจีบหงายแขนตึงด้านหน้าระดับไหล่แล้วม้วนจีบออกเป็นตั้งวง พร้อมกับนั่งลงในท่าคุกเข่าปฏิบัติมือสลับกันจำนวน 4 ชุด

    ท่าที่ 9 ดึงจีบมือซ้ายแทงมือขวาตั้งวง ดึงจีบมือขวาแทงมือซ้ายตั้งวง ดึงจีบมือซ้ายแทงมือขวาตั้งวงปฏิบัติสลับกัน 3 จังหวะ จังหวะที่ 4 มือขวาวางจีบที่ไหล่ขวา มือซ้ายจีบส่งหลัง ปฏิบัติมือสลับกันจำนวน 4 ชุด

    ท่าที่ 10 ปฏิบัติเหมือนท่าที่ 8 เปลี่ยนจากนั่งเป็นลุกขึ้นยืน เท้าซ้ายแตะหลังเปิดส้นเท้าพร้อมกับมือในครั้งที่ 3 แล้วปฏิบัติต่ออีกหนึ่งครั้ง เป็น  4 ครั้ง

    ท่าที่ 11 ก้าวเท้าซ้ายเท้าขวาก้าวตามชิด นับ ก้าว-ชิด-ก้าว-ชิด-ก้าว-ชิด-ก้าว มือจีบม้วนตั้งวงหน้า มือขวาแทงมือแล้วจีบม้วนในจังหวะที่ 2 มือซ้ายแทงมือขึ้นแล้วแทงมือขวาขึ้นลงในขณะปฏิบัติจังหวะที่ 3 และ4 ปฏิบัติสลับกันจำนวน 4 ชุด

ท่าที่ 12 ปฏิบัติเหมือนท่าที่ 1 เดินกลับเข้าจนกว่าจะเข้าเวที



......................................จบการแสดง........................................



                                                             โดย อาจารย์วัชระ  สวัสดิ์ศรี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 259 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 258 ครั้ง
 
 
  27 มิ.ย. 2552 เวลา 18:12:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   646) เอามาฝาก กระผมชอบประวัติศาสตร์มาก  
  เทพสุรา    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
เเค่ลองอ่านเเล้วคิดว่าเนื้อหามันดี   เลยเอามาฝาก  
การที่เรารับทราบเรื่องราวต่างๆ  จากหนังสือหรือ
สื่อต่างๆก็เหมือนกับเรา ก๊อปปี๊เขามาเหมือนกันนั่นละ
เพียงเเต่ต้องการให้ เป็นของตัวเองเลยทำสำนวนให้ต่าง
เเต่ที่จริงเนื้อหาก็ของเขาหมด   บทความของกระผมก็
อยากทรงใว้ซึ่งบทสำนวน  ที่ผู้เขียนเขาเเต่งใว้เพื่อนเขา
จะได้ภาคภูมิใจบ้าง   ไม่ใช่ไปอ่านของเขาเเล้วเอามาเขียนไหม่
คนเขียนเขาจะคิดยังไงครับ
    ที่พี่ให้ข้อคิดมาก็ดีครับ คราวหน้าจะเอาที่มาให้ชัดเจน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 253 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 253 ครั้ง
 
 
  29 ก.ค. 2552 เวลา 15:04:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   614) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์  
  เทพสุรา    คห.ที่1)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


นักดนตรี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 249 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 249 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 22:23:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   35) ฟ้อนกลองตุ้ม-ฟ้อนหมากกั๊บแก้บลำเพลิน  
  เทพสุรา    คห.ที่12)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


สวยไหม  ชมเเน่  ( บ้ายอ )

 
 
สาธุการบทความนี้ : 240 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 240 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 23:29:41  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   614) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์  
  เทพสุรา    คห.ที่2)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


การเเสดงชุดภูไท   ขอคำเเนะนำด้วยครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 238 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 238 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 22:24:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   561) วงโปงลาง มุจรินโปงลาง โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา อ.ด่านซ้าย จ.เลย  
  เทพสุรา    คห.ที่112)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
ครับขอบคุณครับ
เเล้วตำนานที่ว่า  มีชายหญิงสองคนมาอฐิษฐาน  รักร่วมกัน
เเละเกิดมีปาฏิหารต่างๆๆละ   เป็นเรื่องจริงไหม  ขอความกระจ่างด้วยครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 236 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 236 ครั้ง
 
 
  08 ก.ค. 2552 เวลา 14:35:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   611) งานนมัสการพระเเท่นบังลังก์  
  เทพสุรา    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 



พระพุทธรูป

 
 
สาธุการบทความนี้ : 235 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 235 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 22:29:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   593) โลกสองพันห้า  
  เทพสุรา    คห.ที่0) โลกสองพันห้า      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
        เผิ่นว่าเเนวความฮู้         ศีลธรรมพระเจ้าไหญ่
คั่นเเม่นเฮี้ยนได้เเล้ว             สิเป็นเเก้วเเก่นมโน
        เผิ่นว่าสองพันห้า          โลกาสิไหวหวั่น
คนสิตายว่าสั่นอินทร์นั้น          สินั้นไส่กำ
        ไฟบรรลัยกันต์เข้า        สรรพสัตว์สิจมจุ่ม
คนสิมุดมอดเมี่ยน                 บ่มีเเท้เเม่นสิเหลือ  
         ไฟบรรลัยกันต์นั้น        คือคนขาดคุณธรรม
โลภโกรธหลงมัวเมา             มืดไปเบิดด้าน
         คนผู้มีศีลสร้าง           คุณธรรมไปอยู่ป่า
คนผู้ใจชั่วช้า                     ได้ครองบ้านดอกนั่งเมือง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 232 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 232 ครั้ง
 
 
  20 มิ.ย. 2552 เวลา 18:16:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   35) ฟ้อนกลองตุ้ม-ฟ้อนหมากกั๊บแก้บลำเพลิน  
  เทพสุรา    คห.ที่14)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


พี่ๆวงศิลป์อีสาน  จาก มมส.  มาช่วยสอน ภูไทบ้านโพนสว่าง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 231 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 231 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 23:33:07  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   564) เซไล เมืองเก่าของชาวไทเลย  
  เทพสุรา    คห.ที่36)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
  อยากไห้อธิบายไห้เกี่ยวข้องกับ  พระธาตุศรีสองรัก  ได้ไหมคับ
ว่าเกี่ยวกับเมืองเซไลตรงไหน   หรือว่าไม่เกี่ยวข้องกันเลย
เเล้วทำไมต้องตั้งชื่อว่า  พระธาตุศรีสองรัก  เเละประเพณีผีตาโขน
มีมาตั้งเเต่เมื่อไร่   เข้ามายังไง  เเละได้รับอิทธิพลมาจากใครหรือเปล่า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 231 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 231 ครั้ง
 
 
  16 มิ.ย. 2552 เวลา 13:18:48  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   643) ชุดการแต่งกายที่ไม่พึงควรและไม่ควรนำมาใช้สำหรับการแสดง  
  เทพสุรา    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
คุณโหวดฟ้า:
วาดได้ทุเรศมาก สมเหตุสมผลจริงๆ

ผมอยากให้ทางชมรมอีสานจุฬาเป็เจ้าภาพในการเชิญพี่โอ็ตเนี่ยมาสัมนาทางวิชาการสักครัง

ปัจจุบันนี้ วงโปงลางของสถาบันต่างๆ แม้แต่มหาวิทยาลัยนั้น ก็มั่วซั่วไปหมด สมควรที่จะมีการสังคายนาเช่นพระไตรปิฏกสังครัง จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อวัฒนธรรมอีสาน


    โหๆๆๆ   เเล้วโปลางสิเเบ่งเป็น  นิกายนั้นนิกายนี้  บ่น้อ
เช่น  นิกายสารคาม  นิกายกาฬสินธุ์    นิกายร้อยเอ็ด  เป็นต้น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 230 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 230 ครั้ง
 
 
  28 ก.ค. 2552 เวลา 17:32:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   35) ฟ้อนกลองตุ้ม-ฟ้อนหมากกั๊บแก้บลำเพลิน  
  เทพสุรา    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


วิจารณ์  เเน่ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 229 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 229 ครั้ง
 
 
  30 มิ.ย. 2552 เวลา 23:28:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   607) นาฏนารีศรีชัยวรมันต์  
  เทพสุรา    คห.ที่13)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


เดี๋ยวเอามาไห้ดูอีกครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 229 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 227 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 12:15:33  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   600) สาวผู้ดีหลวงสรวงสาพยาเเล  
  เทพสุรา    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


บายศรี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 228 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 228 ครั้ง
 
 
  28 มิ.ย. 2552 เวลา 22:37:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   585) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์  
  เทพสุรา    คห.ที่0) วงพิณเเคนเเท่นวิทย์      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
ลำยาว – ประเพณีโบราณ
                                                                                  โดย....ฉวีวรรณ  ดำเนิน

(เกริ่น)  โอ๊ย,  บุญเอ๊ย  บุญบ่อเคยได้สร้าง  จั่งบ่อเป็นแนวทางพอใช้น้องได้เที่ยวไต่  แล้วมีบาปมาแล่นเข็ญ  มีเวรกรรมแล่นต้อง  เพิ่นทำให้น้องได้ห่างชาย......ผลาอ้ายหน่ายบ่มี......หน่ายบ่มี.......เอ๊ยนอ.....เอ๊ย.....ละนา.....
เออ,  อันนี้ละพ่อแม่เอ๋ย คนว่าคนเดี๋ยวนี้บ่อคือคนรุ่นเก่าคนสมัยสู่มือบ่คือกี้เก่าหลัง
แต่อดีตเก่าพุ้น  คุณปู่คุณตา คนไปมาหากัน  บ่รวดเร็วไวฟ้าว
การแต่งตัวสมัยนั้น  ธรรมเนียมแบบเก่า ผู้หญิงนุ้งผ้าซิ่น  ถุงพื้นล่ามตีน
ซิ่นก็ซิ่นหมี่เอื้อ  ฟืมต่ำทำเอง ฝ้ายก็เข็นด้วยมือ  เหล่นหลาเฮานั้น
มือเข็นฝ้าย  พากันลงข่วง เข็นฝ้ายอยู่เดิ่นบ้าน  ไฟไต้กะบ่มี
มีก็มีไฟตั้ง  กองฟืนสุมต่อ เอาแสงเดือนอยู่ฟ้า  มาใช้เจ้าซ่อยแสง
อยู่กันเป็นคุ้มคุ้ม  ลงข่วงโฮมกัน กินข้าวแลงแล้วลงโฮม  หมู่ฝูงมาเต้า
บ่จักเด็กหรือเฒ่า  เอาแคนลงมาเป่า ทังดีดซุงโอ่ยพร้อม  ซออู้ก็โห่งัน
ออกข่วงนั้นแล้วก็ไปข่วงนี้  เลียนเลาะตบมือ ผู้เฒ่านอนทางซาน  เหงี่ยงหูฟังไว้
ประเพณีไทยแท้  บ่คือกันหลายอย่าง ทางอีสานทุกทั่วหน้า  เป็นจั่งซี้คราวกี้เก่าเดิม
ชุดแต่เริ่ม  ผู้หญิงใส่กระจอนหู ก้องแขนเงินมาสุบ  ข้อแขนแหวนพร้อม
ยามเอาบุญพระเวสฯ  เรไรเอามาเบี่ยง เสื้อกะแหล่งใส้เข้า  ผมตั้งก็บ่ยาว
ผมกระบางเบิ่งเว้าเถอกกระเทิ่งผมสับ เกือกส้นสูงบ่มีสุบ  ย่างป็งามได้
เกือกผ้าใบ,  ฟองน้ำ  ขัดมันบ่มีใส ขนตาปลอมกะบ่มีแต่กี้  ครีมไล้ใส่ผม
อีกอันหนึ่ง,  เครื่องสำอางแต่งหน้าทาเล็บผมดัด บ่เคยมีไผเฮ็ด  อดีตกาลนานพุ้น
กระโปรงขาว  กระโปรงสั้น  จิ๊กโก๋บ่มีดอก นอกจากซิ่นหมี่เอ้  ไหมพื้นต่ำเอง
อย่างเก่งแพ้  ผ้าป่านนำเจ๊ก ผู้มีเงินหลายหลาย  จั่งค่อยเอามาใช้
การศึกษาบ่ทันก้าว  ไปไกลอีหยังดอก เรียนอ่านออกกะใช้ได้  บ่มีช้นแข่งขัน
สมัยเก่าเดิมดา,  ผู้ชายสักขาลายใส่ผ้าไหมทรงเอ้ ลางคนสักลายไว้  นำโตเต็มอยู่
ลายมังกรสักก่ายเกี้ยว  พันไว้ใส่แขน ผู้มักเอ้สักกนกลายนก  นกกระจิบสักลงระหว่างคางทางแก้ม
เอิกก็สักลายไว้  ตามใจผู้อยากใส่ พวกผู้หญิงบ่ได้สักใส่ไว้  คือด้ามดั่งชาย
เว้าพื้นผมนั้นก็เกล้า  ม้วนขอดให้เป็นจุก บ่อได้มีน้ำยาดัด  เป่าไฟคราวกี้
คันอย่างดี  สระผมนั้น  กะชาวเอาน้ำข้าวหม่า น้ำมันงาเอาเหนี่ยงคั้น  มาไว้ท่าใส่ผม
พวกต้นอ้อ  ทังหมู่กระดังงา หาเอามาหมกไฟ  ผสมกันแฮงหอมคราวนั้น
น้ำมันโมเล่  มาทีหลังดอกพ่อใหญ่ สมัยสู้มื้อนี้ดอกเจ้า  จั่งหอมเอ้าเข้าใส่กัน
ต่อจากนั้น  มีแหน่นำสมัย คันไปไสบ่มีรถ  ขี่เกวียนแทนไว้
เป็นเศรษฐีมีเงินใช้  จั่งไปไสได้ง่าย แม่นสิออกเด๊อจากบ้าน  จั่งมีม้าแม่นขี่นำ
สมัยนั้นบ่เปลี่ยนแปลง เออ.....สมัยนั้น บ่เปลี่ยนแปลงเออ.....โอละนอ...เอ๊ยนอ....(จบ)

กลอนลำ  “เรื่องประเพณีโบราณ”  นี้ เป็นกลอนลำที่บันทึกสภาพความเป็นอยู่  การแต่งกายการศึกษาที่มีคุณค่าไว้หลายอย่าง  เปรียบเสมือนเป็น  “พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน”  ของอีสานเลยทีเดียว  นับว่าเป็นสิ่งที่น่ารู้  น่าศึกษาเป็นอย่างยิ่งสำหรับเยาวชนรุ่นหลัง  ซึ่งประเพณีและความเป็นอยู่ดังกล่าวนี้ไม่อาจหาดูได้แล้วในสมัยปัจุบัน  เพราะการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  อันเนื่องมาจากอารยธรรมสมัยใหม่หลั่งไหลท่วมท้นเข้ามาอย่างไม่ขาดสาย  หากไม่มีการบันทึกไว้ก็คงจะเลือนหายไปจากความทรงจำในที่สุด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 224 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 224 ครั้ง
 
 
  16 มิ.ย. 2552 เวลา 23:14:00  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   599) พยาเเล  
  เทพสุรา    คห.ที่0) พยาเเล      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 
ประวัติเจ้าพ่อพระยาแล
เจ้าเมืองคนแรกผู้ได้รับขนานนาม พ่อเมืองชัยภูมิ
พระยาภักดีชุมพล (แล)  คนทั่วไปนิยมเรียกว่า เจ้าพ่อพระยาแล รับราชการอยู่ในสำนักเจ้าอนุวงศ์ ในตำแหน่งพี่เลี้ยงราชบุตรเจ้าอนุวงศ์ ต่อมาท้าวแลได้อพยพครอบครัว และบริวารเดินทางข้ามแม่น้ำโขง ที่ท่าเมืองชัยบุรี เข้ามาถึงเมืองหนองบัวลำภู เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๐  แล้วมาตั้งหลักแหล่ง ที่บ้านน้ำขุ่นหนองอีจาน (ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา)  ต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๖๒  ได้มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่โนนน้ำอ้อมชีลอง  (ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอเมือง ฯ) ท้าวแล ได้ส่งส่วยอากรผ้าขาว เกณฑ์ชายฉกรรจ์ ไปบรรณาการแก่เจ้าอนุวงศ์ จึงได้รับปูนบำเหน็จให้มีบรรดาศักดิ์ เป็น ขุนภักดีชุมพล ต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๖๕ มีผู้คนมาตั้งบ้านเรือนเพิ่มขึ้น  ขุนภักดี ฯ จึงได้อพยพผู้คนมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ระหว่างบ้านหนองหลอดกับบ้านหนองปลาเฒ่า ให้ชื่อบ้านใหม่ว่า บ้านหลวง  ปี พ.ศ.๒๓๖๗ ขุนภักดี ฯ ได้นำทองคำพร้อมส่วยฤชากร ชายฉกรรจ์ ไปบรรณาการแก่เจ้าอนุวงศ์ และขอให้เจ้าอนุวงศ์ตั้งชื่อเมืองที่ตนตั้งรกรากอยู่ เจ้าอนุวงศ์ได้ตั้งชื่อเมืองใหม่ว่า เมืองชัยภูมิ แล้วได้นำทองคำพร้อมส่วยของขุนภักดี ฯ ไปถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมกราบบังคมทูล ขอเลื่อนบรรดาศักดิ์ขุนภักดี ฯ เป็นพระยาภักดีชุมพล และยกบ้านหลวงเป็นเมืองชัยภูมิ ก็ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้ตามที่ขอพระราชทาน พระยาภักดีชุมพลได้รับสาส์นด้วยความปลื้มปิติ พร้อมกับประกาศแก่ประชาชนให้มาร่วมรับทราบ และตั้งสัตย์ปฏิญาณว่าจะจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระพุทธศาสนา และชาติไทยจนชั่วชีวิต  ปี พ.ศ.๒๓๖๙ เจ้าอนุวงศ์ก่อการกบฏ ได้หลอกเจ้าเมืองรายทางว่าอังกฤษรบกับกรุงเทพ ฯ  จึงยกทัพมาช่วย เจ้าเมืองคนใดไม่เชื่อก็ถูกจับประหารชีวิต  กองพันเจ้าอนุวงศ์นำกำลังเข้าตีเมืองชัยภูมิได้ และเกลี้ยกล่อมให้พระยาภักดีชุมพลให้เป็นกบฏด้วย เมื่อไม่ยอมจึงถูกนำตัวไปประหารชีวิต ประชาชนชาวชัยภูมิ ได้สร้างอนุสรณ์สถานให้ เรียกว่า ศาลเจ้าพ่อพระยาแล เป็นที่เคารพบูชาของชาวชัยภูมิตลอดมา ในทุกปี ชาวชัยภูมิจะจัดงานเทศกาลบุญเดือนหก ในวันพุธแรกของเดือน จากพงศาวดารเมืองชัยภูมิ มีความแตกต่างออกไปเป็นอีกนัยหนึ่งว่า ในปี พ.ศ.๒๓๖๙ เจ้าอนุวงศ์ได้มอบให้เจ้าสุทธิสาร (โป้) พร้อมกำลัง ๕๐ คน ถือหนังสือเจ้าอนุวงศ์มาให้พระยาภักดีชุมพล (แล) กับพระยาไกรสิงหนาท เจ้าเมืองภูเขียว ให้ไปพบที่เมืองภูเขียว เมื่อไปถึงแล้วได้พาไปพบเจ้าอนุวงศ์ พอออกนอกเมืองภูเขียว เจ้าสุทธิสารก็ให้จับพระยาทั้งสองไปให้เจ้าอนุวงศ์ที่ช่องเขาสาร (บางแห่งเรียกช่องข้าวสาร)  เจ้าอนุวงศ์ได้สั่งให้เจ้าสุทธิสาร เอาตัวพระยาทั้งสอง และกรมการเมืองทั้งหมดของเมืองทั้งสองไปฆ่า แล้วตัดหัวเสียบประจานไว้  ต่อมาเมื่อพระยาจ่าแสนยากร แม่ทัพหน้าฝ่ายไทยตีค่ายหนองบัวลำพูแตก จึงสั่งให้นายครัวต่าง ๆ ที่รอดตาย เช่น เมืองสี่มุม เมืองภูเขียว เมืองชัยภูมิ เมืองชนบท เมืองภูเวียง พาครอบครัวกลับบ้านเดิม  เมื่อถึงช่องเขาสาร ได้เผาศพพระยาทั้งสองแล้วนำอัฐิกลับไปบ้านของตน โดยได้นำอัฐิพระยาภักดีชุมพล มายังบ้านหลวง (หนองปลาเฒ่า) ได้สร้างศาลเพียงตาที่ริมฝั่งหนองปลาเฒ่า บรรจุอัฐิของพระยาภักดีชุมพลเพื่อให้ชาวเมืองบวงสรวงบูชา

 
 
สาธุการบทความนี้ : 222 ครั้ง
จากสมาชิก : 43 ครั้ง
จากขาจร : 179 ครั้ง
 
 
  24 มิ.ย. 2552 เวลา 21:25:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   597) โปงลางลุ่มน้ำเซิน โรงเรียนชุมแพศีกษา  
  เทพสุรา    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ยอดฝีมือ

ภูมิลำเนา : ชัยภูมิ
เข้าร่วม : 14 มิ.ย. 2552
รวมโพสต์ : 353
ให้สาธุการ : 2590
รับสาธุการ : 280530
รวม: 283120 สาธุการ

 


ชุดการเเสดเหมือนวงกระผมเลยครับ  ก็ดีครับ มีเพื่อน อิอิ  ดีใจมากขอรับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 221 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 221 ครั้ง
 
 
  04 ก.ค. 2552 เวลา 07:20:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2 3 4 5

   

Creative Commons License
โปงลางลุ่มน้ำเซิน โรงเรียนชุมแพศีกษา --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ