ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
อันว่าความตายม้างไกลกันเจียระจาก คันบ่ม้มโอฆกว้างสิเทียวพ้ออยู่เลิง แปลว่า แม้ตายพรากจากกัน หากยังหนีไม่พ้นโอฆะกิเลส ก็ยังมีโอกาสได้เกิดพบกันอีก หมายถึง ตราบใดที่ยังไม่สิ้นกิเลสทั้งปวง ย่อมเวียนว่ายตายเกิดไม่จบสิ้น


  ค้นหากระทู้ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128  
  โพสต์โดย   19) เชิญทดสอบโพสต์ข้อความ เพื่อเรียนรู้เว็บบอร์ด ที่นี่  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่57) ปราสาทหินบนดอยที่เชียงราย      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


อืม....ทดสอบลงรูปมั่งเน้อ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 188 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 188 ครั้ง
 
 
  07 ต.ค. 2552 เวลา 21:31:02  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) เชิญทดสอบโพสต์ข้อความ เพื่อเรียนรู้เว็บบอร์ด ที่นี่  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่59)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


อ้ายโอ๊ต: ไอ้ปัง!  ไอ้เด็กเวรลลลลลลลลลล์ ทำความสะอาด

เอาหน้าโผล่มาเลยนะ!


ปังคุง: (ยื่นหน้าทะเล้นๆออกมา) 'ไรพี่?

อ้ายโอ๊ต: (ข่วนหน้าเต็มแรง!)  แง้ววววววว! ตายซะเถอะเอ็ง

ปังคุง: เอ๋ง....งงงงงงงง!(ตะเกียกตะกายด้วยความเจ็บปวด)

อ้ายโอ๊ต: เหอๆๆๆๆ (หัวเราะด้วยความสะใจ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 283 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 283 ครั้ง
 
 
  08 ต.ค. 2552 เวลา 00:54:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) เชิญทดสอบโพสต์ข้อความ เพื่อเรียนรู้เว็บบอร์ด ที่นี่  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่60) อีสานจุฬา comic.....      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


นี่แน่ะ! จื่อมั้ย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 292 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 292 ครั้ง
 
 
  08 ต.ค. 2552 เวลา 02:48:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) เชิญทดสอบโพสต์ข้อความ เพื่อเรียนรู้เว็บบอร์ด ที่นี่  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่62)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
ลองเทคนิคง่ายๆสิครับ

มนุษย์ก้างไปก่อน


แล้วค่อยมีพัฒนาการเอา
  

  

 
 
สาธุการบทความนี้ : 234 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 234 ครั้ง
 
 
  08 ต.ค. 2552 เวลา 10:09:17  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) เชิญทดสอบโพสต์ข้อความ เพื่อเรียนรู้เว็บบอร์ด ที่นี่  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่71)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
แก้ไขให้หน่อยครับ

ผมจะเขียนคำว่า เปิดเท อม

แล้วระบบจะเปลี่ยนเป็นคำว่า เปิดคุณม ให้ทุกทีครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 255 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 255 ครั้ง
 
 
  04 พ.ย. 2552 เวลา 23:09:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   40) คลายเครียด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


วงกลมมันเบี้ยวไปหน่อยนะ....เอ๊ะ! หรือว่า เปล่า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 188 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 188 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2554 เวลา 20:26:13  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   40) คลายเครียด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ยึกยือ....อืม...มันช่างยึกยือ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 342 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 342 ครั้ง
 
 
  28 มี.ค. 2554 เวลา 20:28:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่7) แต่ก็มีแต่คนงามๆนะครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


จับเด็กนาฏศิลป์โรงเรียนชัยภูมิมาแต่งล้านนา (ลูกน้ำ กะ ฝ้าย) เป็นไงขึ้นกล้องป่าว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 270 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 270 ครั้ง
 
 
  11 ธ.ค. 2550 เวลา 15:04:57  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่8) เอาให้ดูอีกละกัน      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


แม่หญิงล้านนา(ไทอีสานปลอมตัวมา)งามก่อเจ้า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 340 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 340 ครั้ง
 
 
  11 ธ.ค. 2550 เวลา 15:06:23  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่9) งามอย่างล้านนา(แต่เป็นคนอีสานเจ้า..)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


เปลี่ยนคนมั่ง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 237 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 237 ครั้ง
 
 
  11 ธ.ค. 2550 เวลา 15:08:21  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่10) เด็กวงโปงลางโรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


แป้ง กับ อีฟ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 367 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 367 ครั้ง
 
 
  11 ธ.ค. 2550 เวลา 15:10:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่11) งามอ่ะป่าว.......      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


พอดีว่าผมมีชุดล้านนา(ไทยวน)เป็นของสะสมส่วนตัว กับเสื้อผ้าหลายๆเผ่าที่สะสมไว้ ก็เลยจับเด็กวงโปงลางมาแต่งตัวถ่ายรูปซะเลย เห็นชอบอกชอบใจกันใหญ่

อย่างนี้ดีกว่า ใครมีชุดสวยๆเอามาแต่งตัวถ่ายรูปกันดีกว่านะครับ แบ่งกันชมแถมได้ความรู้อีกต่างหากนะครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 402 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 402 ครั้ง
 
 
  11 ธ.ค. 2550 เวลา 15:14:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่20) วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2545)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 

วงโปงลางพ่อแล เริ่มก่อตั้งเมื่อ 9 กรกฏาคม พ.ศ.2545

ภาพการแสดงในงานสถาปนาโรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 2545

ตอนนั้นตั้งมาใหม่ๆอะไรก็ยังไม่เข้าที่เข้าทางนะครับ

















 
 
สาธุการบทความนี้ : 197 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 197 ครั้ง
 
 
  03 มิ.ย. 2553 เวลา 10:22:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่21) วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2546)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2546)

ภาพการแสดงในงานสถาปนา โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 2546



















 
 
สาธุการบทความนี้ : 174 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 174 ครั้ง
 
 
  03 มิ.ย. 2553 เวลา 10:30:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่22) วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2548)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2548)


ภาพ การแสดงในวันสุนทรภู่ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 2548









 
 
สาธุการบทความนี้ : 187 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 187 ครั้ง
 
 
  03 มิ.ย. 2553 เวลา 10:34:41  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่23) วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2548)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
วงโปงลางพ่อ แล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2548)


ภาพ การแข่งขันทักษะนักเรียน 2 กุมภาพันธ์ 2548








 
 
สาธุการบทความนี้ : 177 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 177 ครั้ง
 
 
  03 มิ.ย. 2553 เวลา 10:41:19  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   44) วงพ่อแล จ.ชัยภูมิ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่24) วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2548)      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
วงโปงลางพ่อแล อดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2548)


ภาพการแข่งขันวงโปงลางชิงแชมป์จังหวัดชัยภูมิ 21 กรกฏาคม 2548




























 
 
สาธุการบทความนี้ : 177 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 177 ครั้ง
 
 
  03 มิ.ย. 2553 เวลา 10:45:44  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   61) โปงลางพ่อแล ช.ย. ชัยภูมิภักดีชุมพล  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่5) วงพ่อแล พ.ศ.2548      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


เมื่อนานมาแล้ว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 320 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 320 ครั้ง
 
 
  04 ก.ค. 2552 เวลา 09:14:35  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   61) โปงลางพ่อแล ช.ย. ชัยภูมิภักดีชุมพล  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่6) วงพ่อแล 2549      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


เริ่มมีพัฒนาการทางด้านการแต่งกาย ฝีมือการเล่นดนตรีและท่าฟ้อน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 362 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 362 ครั้ง
 
 
  04 ก.ค. 2552 เวลา 10:47:52  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   61) โปงลางพ่อแล ช.ย. ชัยภูมิภักดีชุมพล  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่18) วงโปงลางพ่อแล โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
ฟ้อนโหวด วงโปงลางพ่อแล โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
https://www.youtube.com/watch?v=AstclXGjlEA


 
 
สาธุการบทความนี้ : 125 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 125 ครั้ง
 
 
  01 เม.ย. 2557 เวลา 11:28:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   61) โปงลางพ่อแล ช.ย. ชัยภูมิภักดีชุมพล  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่19) วงโปงลางพ่อแล โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
ฟ้อนหมากกั๊บแก้บ-ลำเพลิน วงโปงลางพ่อแล โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล


 
 
สาธุการบทความนี้ : 117 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 117 ครั้ง
 
 
  01 เม.ย. 2557 เวลา 11:30:55  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   71) มาดูคลิปวีดีโอลองของ  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 




บู้ย!!!! คักขนาด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 287 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 287 ครั้ง
 
 
  19 ก.ค. 2553 เวลา 18:27:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   75) ผลการประกวดวงโปงลางระดับอุดมศึกษา  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่47)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
โห.....ขุดกระทู้นี้ขึ้นมาซะเก่าเชียวครับ

จนลืมไปหมดแล้ว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  22 พ.ย. 2552 เวลา 02:29:17  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
เหอ..ๆๆๆ
ไม่นึกว่าจะขุดกระทู้เก่าขึ้นมาเล่าใหม่ได้ น้องตั้มคนนี้เป็นประธานชมรมเมื่อ2 ปีก่อนครับ

เอาภาพวันคัดเลืvกโควต้าวงแคนเมื่อ1-2 เดือนก่อนมาให้ชมครับ
ภาพใหญ่ไปนิดนึงนะครับ ไม่ได้ย่อไว้ก่อน


เหล่าพี่น้องไทวงแคนมาช่วยน้องที่จะคัดเลือก


แถวยาวคนเยอะ


ไทวงแคนครับ


น้องๆที่มาคัดเลือก.....เยอะมาก...ก


บรรยากาศห้องสอบโควต้านาฏศิลป์


คณะกรรมการที่เป็นศิษย์เก่าวงแคนทั้งนั้น


น้องๆแต่ละคนก็งัดเอาความสามารถมาใช้แบบสุดตัว










 
 
สาธุการบทความนี้ : 324 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 323 ครั้ง
 
 
  12 ธ.ค. 2551 เวลา 11:34:57  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
สอบปฎิบัติแล้วใครผ่านก็มาสัมภาทย์ครับ










อ่ะ..เจอทายาทนัวเนียด้วย


อิๆ...ลูกศิทย์ผม สอบผ่านทั้งคู่



เหลือแค่ว่าคณะที่ตัวเองเลือกเรียนนั้นเขาจะรับหรือไม่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 303 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 303 ครั้ง
 
 
  12 ธ.ค. 2551 เวลา 11:46:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่8)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
การแสดง งาน 5 เทา เมื่อคืนนี้เองครับ


เหล่าช่างฟ้อน นางรำ ครับ



พร้อมแสดงแล้ว


แอบซ้อมหลังเวทีแป๊บนึง


ไหว้ครู

 
 
สาธุการบทความนี้ : 338 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 338 ครั้ง
 
 
  12 ธ.ค. 2551 เวลา 16:39:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 

ฟ้อนบายศรีสู่ขวัญ แด่เหล่านิสิต 5 มหาวิทยาลัย


จากนั้นก็เปิดวง


ฟ้อนเต้ยหัวโนนตาล

 
 
สาธุการบทความนี้ : 313 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 313 ครั้ง
 
 
  12 ธ.ค. 2551 เวลา 16:43:40  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 

นักร้องคู่ ในชุด ไทลื้อ พอดีว่าไปแสดงที่ จ.แพร่ เลยอินกับบรรยากาศนิดนึง


ฟ้อนลีลาวดี


เซิ้งแหย่ไข่มดแดง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 325 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 325 ครั้ง
 
 
  12 ธ.ค. 2551 เวลา 16:49:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่11)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 

และเต้ยมันๆสักรอบก่อนจบการแสดง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 330 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 330 ครั้ง
 
 
  12 ธ.ค. 2551 เวลา 16:52:37  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่12)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 

นักดนตรี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 6 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 6 ครั้ง
 
 
  12 ธ.ค. 2551 เวลา 16:59:47  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
คุณสะเลเต:


ผมมืคำถาม  "นัวเนีย  คืออะไรหรือครับ  อยากรู้"  ทำไมต้องบอกว่าทายาทนัวเนีย   อยากรู้จริง   ๆ   อิอิอิอิอิ  ผู้รู้ช่วยตอบด้วยครับ

    

คือเจ๊นัวเนีย(ชื่อเล่น)ของบุคลากรในมมส.คับ รูปร่างคล้ายๆอ่ะครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 257 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 257 ครั้ง
 
 
  15 ธ.ค. 2551 เวลา 12:17:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   79) วงแคน มมส.  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่19)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
คุณอ้ายโอ๊ต:



อ่ะ..เจอทายาทนัวเนียด้วย
......................


น้องคนนี้แหล่ะครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 248 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 248 ครั้ง
 
 
  16 ธ.ค. 2551 เวลา 15:17:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   83) ศิลปะงานช่างพื้นถิ่น บนใบเสมาอีสาน... จากหลักผี...? ถึงหลักพุทธ...!  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่1) ใบเสมาสมัยทวารวดี      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ใบเสมา "ถวายเกศเช็ดบาท"

จากเมืองฟ้าแดดสูงยาง ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดขอนแก่น

 
 
สาธุการบทความนี้ : 295 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 295 ครั้ง
 
 
  19 ก.ค. 2553 เวลา 18:22:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   110) ถ้าจะเรียนภาษาอีสาน คำอะไรที่ต้องรู้เป็นคำแรก ^__^  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
ฮ่วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 7 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 7 ครั้ง
 
 
  15 เม.ย. 2552 เวลา 11:59:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   19) ** มี ไผ๋ รู้ บ่ ว่า ต้น กำ เนิด "พิณ" เกิดมาจั๋งใด๋ น้อ พี น้อง *****  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่9)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 

ขออภัยครับ

ห้องโสกันฉันพี่น้อง สำหรับสมาชิก เท่านั้นครับ
กรุณาล็อกอินเข้าระบบ หรือสมัครสมาชิกก่อนครับ



 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  26 เม.ย. 2552 เวลา 20:47:51  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   143) ร้อยกรองกวีกานต์ ร้อยกลอนกวีกัน  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่123)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 



เริ่ม แรกรัก ร้อนแรงรุ่ม สุมไฟโหม
รัก หวานโลม รสลิ้นลอง ร้อยหลากหลาย
ร้อน ร่ามพราม พรายลุ่ม หลงเรือนกาย
แรง ใจง่าย รักลอยลิ่ว จนลืมตน

ลม วนพัด ปัดใจปลิว จนฉิวสุด
เร่า ร้ายฉุด สุดทาง ก็ห่างหาย
แล้ว ค่ายรัก ที่คิดครอง ต้องทลาย
ร่วง หล่นหาย มลายดิน จบสิ้นกัน



 
 
สาธุการบทความนี้ : 214 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 214 ครั้ง
 
 
  24 ธ.ค. 2553 เวลา 00:46:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   143) ร้อยกรองกวีกานต์ ร้อยกลอนกวีกัน  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่124) สวัสดีปีใหม่ 2554      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


กราบก้มประนม พนม วันทาไหว้     กรานน้อมกาย นบน้อม พินอบขวัญ
แลบูชา ปทุมมา ผกาวรรณ           พรรคพร้อมสรร ชลธาร อันมงคล

สรงธารใส ปฏิมา องคเจ้า              ด้วยจิตเกล้า มุ่งคิด จิตกุศล
ขอพรอยู่ คู่ราศี ทั่วตัวคน               ให้สวัสดิ์สุข แลโชคดี ปีใหม่เทอญ
  


 
 
สาธุการบทความนี้ : 195 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 195 ครั้ง
 
 
  24 ธ.ค. 2553 เวลา 01:00:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   162) เหตุการณ์สำคัญของสาเกตนคร  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่16)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 
โอ้.....สุดยอดครับไปหาภาพมาจากไหนกันครับเนี้ย ดูแล้วคิดถึงบ้านเนาะ.....

(ถึงตอนนั้นจะยังไม่เกิดก็เถอะ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 191 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 191 ครั้ง
 
 
  12 ก.ค. 2553 เวลา 23:55:05  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   163) ผ้าไหมประจำจังหวัดร้อยเอ็ด คือ ผ้าสาเกต  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่11) ผ้าไหมสาเกต      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ถ้าเป็นผ้าไหมสาเกต สีชมพูอมม่วงเป็นสีเอกลักษณ์ของผ้าไหมชนิดนี้ครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 327 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 327 ครั้ง
 
 
  06 พ.ค. 2553 เวลา 18:17:04  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนร้อยเอ็ดเพชรงาม



?ร้อยเอ็ดเพชรอีสาน พลาญชัยบึงงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมชั้นดี สตรีโสภา
ทุ่งกุลาสดใส งานใหญ่บุญผะเหวด?

เป็นคำขวัญประจำจังหวัดร้อยเอ็ดเดิม ที่อธิบายลักษณะแหล่งท่องเที่ยว สภาพแวดล้อม รวมถึงศิลปวัฒนธรรมประเพณีภายในจังหวัดร้อยเอ็ด
ปัจจุบัน คำขวัญจังหวัดร้อยเอ็ดได้มีการประกวดคำขวัญและได้นำคำขวัญที่ชนะเลิศมาใช้ในใหม่ ในความว่า

?สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกต บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามน่ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา โลกลือชาข้าวหอมมะลิ?

ฟ้อนร้อยเอ็ดเพชรงาม ได้ประดิษฐ์คิดค้นการแสดงโดย คณาจารย์จากวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด ประพันธ์เนื้อร้องโดย อ.สมชิต สุนาคราช  เป็นการฟ้อนประกอบท่วงทำนองดนตรีที่มีความจังหวะสนุกสนานเร้าใจ การฟ้อนแสดงถึง การอธิบายคำขวัญของจังหวัดร้อยเอ็ดออกมาเป็นท่วงท่าที่สวยงาม โดยมีเนื้อหาชักชวนให้ไปท่องเที่ยวในจังหวัดร้อยเอ็ด และการแต่งกายของนักแสดงด้วยผ้าไหมลายประจำจังหวัด ก็แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ประจำท้องถิ่นอีกด้วย

การแต่งกาย

หญิง สวมเสื้อผ้าไหมแขนสั้น ห่มทับด้วยสไบไหม นุ่งผ้าซิ่นไหมมัดหมี่ร้อยเอ็ด ยาวกรอมเท้า ผมเกล้ามวยประดับมวยผมด้วยดอกไม้ และสวมเครื่องประดับเงิน

เพลงร้อยเอ็ดเพชรงาม

มาเถิดอ้ายมา มาเถิดหนามาเที่ยวเมืองร้อยเอ็ด  เมืองนี้งามดังเพชร ๆ  โอ้เมืองร้อยเอ็ดงามซึ้งตรึงใจ

เสียงแคนดังต่อยแล่นแตร ดอกคูนงามแท้ชูช่อไสว บึงโอ้บึงพลาญชัย ๆ หมู่ปลาแหวกว่ายอยู่ในธารา

โอ โอ้ โอ ถ้าอยากสุขโขมาร้อยเอ็ดเถิดหนา มีพระใหญ่สูงเยี่ยมเทียมฟ้า ๆ ผ้าไหมงามตา สาวโสภาถูกใจ

เสียงพิณดังแว่วแผ่วมา กว้างไกลสุดตาทุ่งกุลาสดใส ชาวร้อยเอ็ดเป็นผู้มีน้ำใจ ๆ จะมองแห่งไหนร้อยเอ็ดงามจริงเอย

....................................................................


.........เห็นตอบกระทู้กันซะสนุกเลยเอามาตอบมั่งคับ

ในฐานะเป็นคนร้อยเอ็ดเหมือนกัน

*** พอผมเอาข้อมูลลงแบบนี้มีคนเอาไปใช้อ้างอิงเยอะมาก

บางเว๊บก็ยังเอาข้อมูลผมลงไว้ไปทำเว๊บเองต่างหาก

แต่ก็ช่างเถอะ.............เป็นวิทยาทานอยู่แล้ว


ขนาดหาใน google ก็มีรูปผมวาดไว้แสดงเต็มเลย.......

 
 
สาธุการบทความนี้ : 399 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 398 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 01:57:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่16)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนสาละวัน



ลำสาละวัน เป็นวัฒนธรรมของชนชาติลาวอีกประเภทหนึ่ง การลำสาละวันที่เก่าแก่ที่กำเนิดมาจากการทรงผีไท้ผีแถน ตามความเชื่อดั้งเดิมแล้วกลายมา เป็นมหรสพของชุมชนแล้วได้ประยุกต์เพิ่มกลอนลำให้เกิดความสนุกสนาน ประกอบท่าทางการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยอิสระตามธรรมชาติ แรกเริ่มเป็นการเล่นโดยทั่วไปในหมู่ชาวบ้านแล้วแพร่กระจายเข้ามาในประเทศไทย ได้รับความนิยมมายาวนาน ด้วยท่วงทำนองที่ไพเราะ จังหวะสม่ำเสมอ


เนื้อความของลำสาละวัน นอกจากจะสะท้อนให้เห็นแนวทางการเกี้ยวพาราสีระหว่างชายหญิงแล้ว โวหารเปรียบเทียบที่ใช้ได้สะท้อนให้เห็นถึงความงามของการใช้ภาษา นอกจากนั้น ท่วงทำนองของการลำ ยังมีการเอื้อนที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว
?ลำสาละวัน? จึงเป็นเอกลักษณ์ของชาวสาละวันยาวนานร่วม 70 ปีไม่มีวันสูญหาย และยังคงไว้ซึ่งความไพเราะ และเป็นการร้อยเรียงภาษาที่บอกเล่าเป็นทำนองให้ทราบถึงอดีตที่รุ่งเรืองของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวได้อย่างดียิ่ง


การแสดงชุด ?ฟ้อนสาละวัน?  คณาจารย์จากวิทยาลัยนาฏศิลป์ร้อยเอ็ด เล็งเห็นคุณค่าความไพเราะของทำนองและบทร้องตลอดจนท่าฟ้อนรำที่สื่อความหมายตามแบบศิลปะพื้นบ้านที่บริสุทธิ์ รวมไปถึงความสวยงามของลวดลายที่ปรากฏบนผ้าทอของชาวสาละวัน โดยพยายามอนุรักษ์การฟ้อนแบบดั้งเดิมไว้ให้มากที่สุดโดยไปศึกษาการขับลำสาละวันและท่าฟ้อนสาละวัน ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แล้วนำกลับเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยอีกครั้ง จึงได้นำฟ้อนประกอบการลำสาละวันจัดระเบียบแผนในการแสดงใหม่โดยดัดแปลงเพื่อใช้ประกอบในการแสดงวงโปงลางแต่ยังคงรูปแบบไว้ดั้งเดิมเอาไว้อย่างครบถ้วน


การแต่งกาย
- ชาย สวมเสื้อคอกลมแขนสั้นสีเขียวลายจกดิ้นทอง นุ่งผ้าโจงกระเบนสีเขียว ใช้ผ้าสไบจกลุ่มน้ำโขงมัดเอว สวมสร้อยทอง และกำไลทอง
- หญิง สวมเสื้อที่มีไหล่เสื้อด้านซ้ายสีเขียว ซึ่งเป็นแบบเสื้อชุดประจำชาติของลาว ห่มสไบจกดิ้นทองและนุ่งผ้าซิ่นจกสีแดงยกดิ้นทอง ผมเกล้ามวยสูง รวบผมตึงเบี่ยงมวยผมไปทางซ้าย มัดมวยผมด้วยสายลูกปัดทอง ปักปิ่นทองที่ยอดมวยผม สวมเครื่องประดับทอง เช่น สร้อย ต่างหู กำไล เข็มขัด

ลำสาละวัน
(เกริ่น)
โอ๋ ..โอย...น้อ โอ...หนา โอ๋หนออ้ายเอย มา..มาแล้ว สาละวันมาแล้ว มาเอาแนวไปไว้ มาเอาในมันไปหว่านอ้ายเอย เอาเมือปลูกไว้บ้านพอสิได้ดอกเฮ็ดแนว..เฮ็ดแนวหนา
โอหนออ้ายเอย ยามน้องมาเห็นหน้าอยากถามข่าวถามถึงเด้หนอ สุขสำบายดีบ่ หือได๋อยากฮู้ข่าวท่านเอย น้องนี่มาฟาวฟ้าวอยากเห็นหน้าอยากข่าวถามข่าวถามหนา โอ...โอย...หนา
.........................

โอ๋ ..โอย...น้อ โอ...หนา โอ๋หนออ้ายเอย เชิญอ้ายมาลำฟ้อน สาละวันให้มันคล่องอ้ายเอย ขอเชิญอ้ายและน้องมาลงฟ้อนเตี้ยเข้าใส่กัน ใส่กันหนา

เตี้ยลงสาละวันเตี้ยลง (ซ้ำ) เตี้ยลงให้คือหงส์เล่นน้ำ อยากให้งามให้เตี้ยลงต่ำๆ เตี้ยต่ำๆให้เตี้ยลงต่ำๆ เตี้ยลงแล้วฟังน้องสิเดี่ยวกลอน ฟ้อนอ่อนๆ เด้อชายสาละวัน ฟ้อนอ่อนๆ ละเด้อสาวสาละวัน เฮามาฟ้อนนำกันให้เตี้ยลงต่ำๆ เตี้ยต่ำๆ เตี้ยลงต่ำๆ เกี้ยวให้งามให้เตี้ยต่ำจำดิน

เตี้ยลงแล้วลุกขึ้นสาละวัน สาละวันลุกขึ้น ลุกขึ้นสาละวัน ลุกขึ้นแล้วกะฟ้อนอยู่ตรงๆ
มารำวงนำกันเป็นหมู่ เดินเป็นคู่สอดสายมาลัย จักแฟนไผกะซางมางามแท้น้อ
รูปหล่อๆ น้องอยากขอเมือนำ ตาดำๆ สิฮักน้องบ่นอ (ซ้ำ) โอ...โอย...หนา
...........................
โอ๋ ..โอย...น้อ โอ...หนา โอ๋หนออ้ายเอย ยามน้องมาเห็นน้ำวังใส คึดอยากอาบหลายเด บาดเทือมาฮอดแล้ววังน้ำย้านเพิ่นหมาย เพิ่นหมายหนา คึดอยากเมือนำอ้ายย้านบ่อนนั่งนั้นมีแต่ขอนเด้
ย้าน บ่อนนอนนั้นมีตั้งแต่เสี้ยนหาบ่อนเมี้ยนคีงน้องหย้านบ่มี บ่มีหนา
โอหนออ้ายเอย เฮาได้มาลำฟ้อนสาละวันกันเป็นหมู่นั่นแล้ว เดินเป็นคู่เกี่ยวก้อย สาวซำเล็กบ่าวซำน้อย มาลอยหน้าต่อไป ต่อไปหนา

สาละวันเดินหน้า เดินหน้า เดินหน้าสาละวัน สาละวันถอยหลัง ถอยหลังถอยหลังสาละวัน (ซ้ำ) ถอยหลังแล้วเชิญยิ้มหวานๆ อ้ายบ่สงสารสาวหมอลำบ่ บ่ฮักน้องบ้อ บ่ฮักน้องบ่ บ่ฮักน้อง...บ่

สาละวันขาเดียว ขาเดียว ขาเดียวสาละวัน
สาละวันแขนเดียว แขนเดียว แขนเดียวสาละวัน
สาละวันขาเดียว ขาเดียว ขาเดียวแขนเดียวสาละวัน
แขนเดียวแล้วเชิญยิ้มหวานๆ อ้ายบ่สงสารสาวหมอลำบ่ บ่ฮักน้องบ้อ บ่ฮักน้องบ่ บ่ฮักน้อง...บ่
โอ...โอย...หนา
.............................
โอ๋ ..โอย...น้อ โอ...หนา โอ๋หนออ้ายเอย พอแต่มาถึงนี้ สาละวันสิลงก่อนท่านเอย ขอแถมพรบาดท้าย สิลาอ้ายแล้วต่าวลง ต่าวลงหนา ขอลาลง.......

สาละวันลาลง ลาลง ลาลงสาละวัน
สาละวันลาลง ลาลง ลาลงสาละวัน
ลา..ลงลาลงสาละวัน ลา..ลงลาลง สา...ละวัน
โอ...โอย...หนา
??????????..





*****ข้อมูลนี้ได้จากการพูดคุยกับท่าน อ. ทรงศักดิ์ ประทุมศิลป์ และรายงานของนิสิตภาควิชาศิลปการแสดงเอามาผสมๆกันนะครับ

ส่วนเนื้อร้องแกะคำมาจากเพลงที่อัดไว้เอง***

 
 
สาธุการบทความนี้ : 587 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 586 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:05:16  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่17)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนโหวด


โหวด เป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าชนิดหนึ่ง และถือได้ว่า ?โหวด? เป็นสัญลักษณ์ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด ทำด้วยลูกแคนแต่ไม่มีลิ้น โดยนำเอากู่แคนจำนวนประมาณ 7 ถึง 12 อันมาตัดให้ได้ขนาดลดหลั่นกันให้ปลายทั้งสองข้างเปิด ปลายด้านล่างใช้ขี้สูดปิดให้สนิท ส่วนปลายบนเปิดไว้สำหรับเป็นรูเป่า โดยนำเอากู่แคนมารวมกันเข้ากับแกนไม้ไผ่ที่อยู่ตรงกลาง จัดลุกแคนล้อมรอบในลักษณะทรงกลม ตรงหัวโหวดใช้ขี้สูดก่อเป็นรูปกรวยแหลม เพื่อใช้เป็นฐานสำหรับจรดฝีปากด้านล่าง และให้โหวดหมุนได้รอบทิศเวลาเป่า

ฟ้อนโหวด เป็นชุดการแสดงที่จัดทำขึ้นใหม่โดยภาควิชานาฏศิลป์ไทย โดยวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด ด้วยการนำลักษณะของช่างประดิษฐ์โหวดมาปรับปรุงเป็นท่าฟ้อทีมีความอ่อนช้อยสวยงาม สามารถสะท้อนให้เห็นถึงกรรมวิธีการประดิษฐ์โหวดได้อย่างชัดเจน โดยเริ่มจากการฝ่ายชายเข้าป่าไปหาตัดไม้กู่แคน นำมาตากแห้ง เลือกตัด ตกแต่ง ติดขี้สูดประกอบเข้ากับแกนโหวด เทียบเสียง แกว่งโหวดทดสอบ แล้วฝ่ายหญิงออก มาแสดงความร่าเริง สนุกสนาน ปิดท้ายด้วยการที่ฝ่ายชายออกมาเกี้ยวพาราสี หยอกล้อกัน

ฟ้อนโหวด   ประกอบไปด้วยท่าจากท่าฟ้อนแม่บทอีสานเช่น ท่านาคเกล้าเกี้ยว ท่าอุ่นมโนราห์ ท่าบัวคว่ำบัวหงาย ฯลฯ
ดนตรีบรรเลงด้วยวงโปงลาง ลายเค้าอ่านคอน ลายอ่านหนังสือน้อย ลายกลอนเขิน ลายพรานเดินดง และลายเมยกินโป่ง


การแต่งกาย

- หญิง สวมเสื้อไม่มีแขนสีดำ เบี่ยงผ้าสไบด้วยผ้าจกไทแดงหรือผ้าไหมแพรวาสีแดง นุ่งซิ่นไทลื้อยาวกรอมเท้า ผมเกล้ามวย ประดับดอกไม้และหวีเงินสับมวยผม สวมเครื่องประดับเงิน
- ชาย สวมเสื้อสีแดงแขนตั้งผ่าหน้าติดกระดุม นุ่งผ้าโจงกระเบนพับชายหยักรั้งมาด้านหน้า ใช้ผ้าสไบขิดสีดำ โพกศีรษะและมัดเอว

...............................................

***สีของรูปไม่ค่อยเหมือนต้นแบบสักหน่อยนะครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 449 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 448 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:17:52  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่18)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนหมากกั๊บแก้บ-ลำเพลิน


หมากกั๊บแก้บ(กรับ)  เป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะของภาคอีสาน มีด้วยกัน 2 ประเภท คือ

1. กั๊บแก้บไม้สั้น เป็นไม้ผิวเรียบยาวประมาณ 4-6 นิ้ว
2. กั๊บแก้บไม้ยาว เป็นไม้ผิวเรียบมีการหยักร่องฟันปลา เพื่อขูดกันให้เกิดเสียง

การเล่นหมากกั๊บแก้บนั้น สามารถเล่นได้ทุกโอกาสที่มีการบรรเลงดนตรีพื้นบ้าน  และผู้เล่นส่วนใหญ่มักจะแต่งกายเหมือนชาวอีสานโบราณ คือนุ่งผ้าเตี่ยวมีการสักลวดลายบนร่างกาย ปัจจุบันไม่นิยมการสักจึงมักจะใช้สีเขียนลวดลายขึ้นแทน เช่นลายเสือผงาด ลายหนุมานถวายแหวน ลายนกอินทรี ลายมอม ลายสิงห์ เป็นต้น

การเล่นหมากกั๊บแก้บ เป็นการเล่นที่ไม่มีรูปแบบตายตัว สุดแท้แต่ใครมีความสามารถในการแสดงออกถึงลีลาท่าทางที่โลดโผนให้เป็นที่ประทับใจของหญิงสาวได้มากน้อยเพียงใด  หากเล่นกันเป็นคู่มีฝ่ายรุกฝ่ายรับ แล้วเปลี่ยนลีลาสลับกันก็ขึ้นอยู่กับโอกาสและปฏิภาณของผู้เล่น

ลำเพลิน  เป็นการขับลำอีกประเภทหนึ่งของชาวอีสาน สันนิษฐานว่าการขับลำเพลินมาจากการลำทำนองตีกลองน้ำเพราะจังหวะลีลาท่วงทำนองคล้ายคลึงกันมาก

หมอลำเพลิน ถือกำเนิดขึ้นมาในสมัยใดไม่สามารถระบุหลักฐานได้แน่ชัด แต่ก็เป็นทำนองกลอนลำที่นิยมกันอย่างกว้างขวางทั้งในภาคอีสานและประเทศลาว ตั้งแต่ พ.ศ.2505 จนถึงปัจจุบัน บางคนก็เรียกทำนองหมอลำชนิดนี้ว่าหมอลำแก้วหน้าม้า อันเนื่องมาจาก แต่เริ่มเดิมทีนั้นหมอลำเพลินนิยมเล่นเรื่อง ?แก้วหน้าม้า? เพียงอย่างเดียว ในสมัยต่อมาก็มีการเล่นเรื่อง ?ขุนช้างขุนแผน? ซึ่งชาวอีสานจะนิยมเรียกว่า ?ขุนแผน-ลาวทอง? เพราะนิยมเล่นตอนนางลาวทองเขียนสาสน์ ปัจจุบัน ลำเพลินพัฒนาตนเองไปอย่างรวดเร็ว จึงนิยมนำเอาวรรณกรรมและนิทานพื้นบ้านมาใช้เล่นกันอย่างกว้างขวาง

ความไม่พิถีพิถัน ของคณะหมอลำและผู้จัดการวงหมอลำในปัจจุบัน ทำให้ภาพลักษณ์ของหมอลำเพลิน เกือบจะสูญเสียความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอีสานเพราะในขณะนี้หมอลำเพลินแทบทุกคณะนิยมนำเอาเครื่องดนตรีสากลมาใช้ในการบรรเลงเพลงประกอบการแสดงแทบจะไม่เหลือความเป็นขนบดั้งเดิมของหมอลำ กลอนลำที่ใช้ก็ไม่ไม้ถูกต้องตรงกับเนื้อเรื่อง มักจะลำไปเรื่อยๆตามคำกลอนของผู้เขียนเพลงจะคิดได้

นายชุมเดช  เดชภิมล อาจารย์2 แห่งวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด (**ปัจจุบัน อยู่ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)  ได้ผนวกการเล่นหมากกั๊บแก้บเข้ากับการเล่นลำเพลินของชาวอีสาน โดยยังคงลีลาการเล่นหมากกั๊บแก้บและการฟ้อนลำเพลินไว้อย่างสมบูรณ์แบบ ซึ่งมีผู้แสดงร่วมทั้งชายและหญิง

จุดเด่นของการฟ้อนหมากกั๊บแก้บ-ลำเพลินอยู่ที่จังหวะลีลาท่วงทำนองดนตรี ประกอบกับท่าฟ้อนของชาวอีสาน เช่น ท่าถวยแถน ท่าหมาเยี่ยว ท่าลอยปลากระเดิด ท่าเสือตะครุบ ท่าดาวน้อย ท่าลำเพลินท่าบัวหุบ-บัวบาน ท่าส่าย ท่าเนิ้ง ฯลฯ ดนตรีบรรเลงลายแมงตับเต่า และทำนองหมอลำอัศจรรย์ลายลำเพลิน

การแต่งกาย
- ชาย สวมเสื้อยันต์แขนกุดสีขาวขอบชายเสื้อสีแดง นุ่งผ้าลายโสร่ง เป็นโจงกระเบนรั้งสูงถึงต้นขา ม้วนปลายผ้าสอดไปด้านหลัง (เรียกลักษณะการนุ่งผ้าเช่นนี้ว่า การนุ่งแบบเสือลากหาง) มัดศีรษะด้วยผ้าขาวม้า และมัดเอวด้วยผ้าขิด
- หญิง สวมเสื้อแขนกระบอก ห่มทับด้วยสไบขิด นุ่งผ้าซิ่นมัดหมี่ยาวคลุมเข่า ผมเกล้ามวยประดับมวยผมด้วยดอกไม้ และสวมเครื่องประดับเงิน
....................................

 
 
สาธุการบทความนี้ : 309 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 308 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:26:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่19)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนกลองตุ้ม (ฟ้อนส่วยมือ)


ฟ้อนกลองตุ้ม หรือฟ้อนส่วยมือ เป็นการฟ้อนรำที่เก่าแก่และโบราณ ของชาวอีสาน ในอดีตนิยมฟ้อนด้วยผู้ชายทั้งหมด เป็นการฟ้อนรำประกอบจังหวะกลองตุ้ม ใช้ประกอบขบวนในการแห่บั้งไฟ

การฟ้อนกลองตุ้มมีอยู่ 2 แบบด้วยกัน แบบที่หนึ่ง คือ การฟ้อนเป็นจังหวะในรูปแบบการฟ้อนแห่เป็นขบวน  แบบที่สอง คือการฟ้อนประกอบทำนองกาพย์เซิ้ง เพื่อขอเหล้าหรือปัจจัยไทยทาน เมื่อพิจารณาที่มาของการฟ้อนกลองตุ้มในแบบที่สอง จะเห็นได้ว่า มีความเกี่ยวเนื่องกับประเพณีบุญบั้งไฟ เพราะมีทำนองเป็นเช่นเดียวกันกับทำนองเซิ้งบั้งไฟ แต่มีช่วงจังหวะที่ช้าเนิบนาบกว่า

เครื่องดนตรี
เครื่องดนตรีที่ใช้ในการบรรเลงมีเพียง 3 ชิ้น ได้แก่ กลองตุ้ม ผางฮาด และสไน อาจจะมีฉิ่งและฉาบร่วมประกอบจังหวะด้วย

อุปกรณ์ในการแสดง
- ส่วยมือ เป็นอุปกรณ์ในการสวมนิ้วมือทั้งสิบ ทำมาจากหวายหรือไม้ไผ่ก้านยาว ปลายด้านหนึ่งสานให้เป็นกรวย เพื่อสวมเข้ากับนิ้ว ตัวก้านมีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร แล้วพันด้วยด้ายสีต่างๆ ที่ปลายสุดของไม้มีพู่สีขาว นิยมพันด้ายให้เหมือนกับสีของธงชาติไทย
- ฝ้ายขาว ทำมาจากเส้นฝ้ายหรือไหมพรมสีขาว มัดแล้วตัดเป็นข้อๆ ใช้พาดไหล่ทั้งสองข้างคล้ายกับการใส่สร้อยสังวาล มักใช้กับฟ้อนกลองตุ้มในจังหวัดอุบลราชธานี
- ในจังหวัดศรีสะเกษ  จะมีเครื่องประดับที่ใช้ในการฟ้อนกลองตุ้ม คือ กระจกบานเล็กห้อยเป็นสร้อย แล้วใช้ใบตาลสานเป็นสร้อยสังวาลแทนฝ้ายขาว และสวมแว่นตาดำ
ปัจจุบันการฟ้อนกลองตุ้มได้คลี่คลายมากขึ้น ซึ่งแต่เดิมจะฟ้อนด้วยผู้ชายทั้งหมด บางหมู่บ้านที่มีการฟ้อนกลองตุ้มก็มีผู้หญิงเข้ามาร่วมฟ้อนด้วยแต่ยังคงแต่งกายเป็นผู้ชายทั้งหมด และในสถานศึกษาได้นำมาดัดแปลงมาใช้แสดงบนเวที ร่วมกับวงโปงลาง ซึ่งจะสามารถหาชมได้จากสถาบันการศึกษาทั้ง 2 แห่งนี้ คือ

ฟ้อนกลองตุ้มของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้ดัดแปลงให้เป็นการแสดงบนเวที โดยให้นักแสดงที่เป็นผู้หญิงล้วน แบ่งเป็น2 ด้าน ด้านหนึ่งจะแต่งกายเป็นผู้ชาย อีกด้านจะแต่งเป็นชุดสตรีแบบพื้นเมืองอีสาน ซึ่งได้ดัดแปลงท่วงท่าบางส่วนผสมผสานกับการแสดงของวงโปงลางด้วย

การแต่งกาย
- ฝ่ายชาย สวมเสื้อย้อมครามแขนสั้น นุ่งโสร่ง ใช้ผ้าขิดสีแดง 4 ผืน คือ พาดเฉียงไหล่ทั้งสองข้าง โพกศีรษะ และมัดเอว สวมสร้อยคอเงิน และนิ้วทั้งสิบสวมส่วยมือ
- ฝ่ายหญิง สวมเสื้อแขนกระบอก ห่มทับด้วยสไบขิด นุ่งผ้าซิ่นมัดหมี่ยาวคลุมเข่า ผมเกล้ามวยประดับมวยผมด้วยดอกไม้ สวมเครื่องประดับเงิน และนิ้วทั้งสิบสวมส่วยมือ

ฟ้อนกลองตุ้มของ วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด ได้ดัดแปลงการฟ้อนกลองตุ้มแบบโบราณมาผสมผสานกับการแสดงบนเวที คือ จะมีการฟ้อนร่วมกันระหว่างผู้ชายและผู้หญิงด้วย แทนการฟ้อนแบบโบราณซึ่งจะมีแค่ผู้ชายเท่านั้น โดยการแสดงในช่วงแรกจะบรรเลงแบบโบราณ คือใช้เพียงกลองตุ้ม ผางฮาด และสไน ช่วงที่สองจะบรรเลงด้วยวงโปงลางในจังหวะและทำนองที่สนุกสนานเร้าใจ

การแต่งกาย
- ชาย สวมเสื้อย้อมครามแขนสั้น นุ่งโสร่ง ใช้ผ้าขิดสีเขียว 3 ผืน คือ พาดเฉียงไหล่ทั้งสองข้างและมัดเอว ใช้เส้นฝ้ายสีขาว 2 เส้นเฉียงทับบนสไบ ศีรษะสวมหมวกกาบเซิ้ง และนิ้วทั้งสิบสวมส่วยมือ
- หญิง สวมเสื้อแขนกระบอกสีแดง ไหล่ทั้งสองข้างห่มทับด้วยสไบขิดสีเขียว 2 ผืนใช้เส้นฝ้ายภูไทสีขาว 2 เส้นเฉียงทับบนสไบ นุ่งโสร่งอย่างผู้ชาย  ศีรษะสวมหมวกกาบเซิ้ง สวมเครื่องประดับเงิน และนิ้วทั้งสิบสวมส่วยมือ
????????????????

 
 
สาธุการบทความนี้ : 329 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 328 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:30:23  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่20)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


เซิ้งบั้งไฟ



เซิ้งบั้งไฟ เป็นประเพณีและพิธีกรรมที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล จากคตินิยมและความเชื่อเรื่องตำนานพญาคันคาก (คางคก) ซึ่งเป็นทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมจารึก อีกเรื่องหนึ่งคือ ตำนาน ?ท้าวผาแดง ? นางไอ่คำ? ซึ่งปราชญ์ชาวอีสานได้แต่งวรรณกรรมจากสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนชาวขอม เป็นเรื่องราวในทางสงครามระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ไทลาวกับกลุ่มชาติพันธุ์เขมร


ส่วนการเซิ้งบั้งไฟ ถือว่าเป็นประเพณีที่ชุมชน ชาวอีสานสืบทอดกันมาพร้อมกับประเพณีการจุดบั้งไฟ คือก่อนที่จะทำบั้งไฟเพื่อจุดถวายพญาแถนบนสวรรค์ ชาวบ้านจะรวมตัวกันออกเซิ้ง(คือ การร้องหรือจ่ายกาพย์ประกอบการฟ้อน) ไปรอบๆหมู่บ้านหรือชุมชนใกล้เคียงเพื่อบอกบุญขอรับไทยทาน เพื่อซื้อ ขี้เกีย (ดินประสิว) มาทำเป็น หมื่อ (ดินปืน) เพื่อบรรจุทำเป็นบั้งไฟ และจุดในพิธีขอฝนต่อไป


การเซิ้งบั้งไฟนั้นอาจจะเป็นผู้หญิงล้วน ชายล้วน หรือมีการสลับชายหญิงก็ได้ ท่าฟ้อนในการแห่บั้งไฟนั้นมีหลายท่า ยกตัวอย่างเช่น ท่าฟ้อนของคุ้มบ้านใต้สามัคคี อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร มีอยู่ด้วยกัน 6 ท่า คือ ท่าไหว้ครู ท่านาคพ่นน้ำ ท่าม้วนเชือก ท่าแงงคีง(ท่าชมโฉมตนเอง) ท่าส่อนฮวก(ช้อนลูกอ๊อด) และท่ายูงรำแพน
ท่าฟ้อนของคุ้มบ้านท่าศรีธรรม อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร มี 13 ท่า คือ ท่าไหว้ครู ท่าเกี่ยวข้าว ท่าทวยเทพ ท่าแหวกม่านเข้าหอ ท่าเอิ้นบ่าว-อีแหลวเสิ่น ท่าประแป้ง ท่าเสือขึ้นภู ท่าปอบผีฟ้า-กาตบปีก ท่าบัวหุบ-บัวบาน ท่าสามก้าว ท่างามเดือน และท่าแผลงศร


การแสดงเซิ้งบั้งไฟนั้นมีหลายแห่งที่คิดประดิษฐ์ในรูปแบบต่างๆกัน แต่ผู้เขียนขอยกตัวอย่างเพียง 1 สถาบันดังนี้  
ในปี พ.ศ.2525 นายจีรพล เพชรสม ผู้ช่วยผู้อำนวยการวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ดในขณะนั้น รวมทั้งเหล่าคณาจารย์ คือ อ.ฉวีวรรณ พันธุ (ดำเนิน), อ.ทองคำ ไทยกล้า และ อ.ทรงศักดิ์ ประทุมศิลป์ อาจารย์สอนศิลปะพื้นเมือง แห่งวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด ได้ออกพื้นที่ไปศึกษาค้นคว้า เรื่องราวในงานประเพณีแห่บั้งไฟ จากบ้านสังข์สงยางและบ้านสีแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด และการเซิ้งบั้งไฟของชาวอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ มาสร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์ เป็นชุดการแสดงที่มีชื่อว่า ?เซิ้งบั้งไฟ?  โดยการจำลองเหตุการณ์การแข่งขันบั้งไฟที่เมืองเอกธชีตา ในสมัยพระยาขอมเรืองอำนาจ โดยมีวัตถุประสงค์จะใช้กิจกรรมทางด้านนาฏศิลป์ สื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมรับรู้ถึงอดีตและความเป็นมาของวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ และตลอดจนการมีส่วนร่วมในการสืบสานและเผยแพร่สู่อนุชนรุ่นหลังต่อไป

ตัวอย่างกาพย์เซิ้งบั้งไฟ

          โอ เฮาโอศรัทธา เฮาโอ                     ขอเหล้าเด็ดนำเจ้าจักโอ
ขอเหล้าโทนำเจ้าจักถ้วย                    หวานจ้วยๆต้วยปากหลานชาย
เอามายายหลานชายให้คู่                   ขั่นบ่คู่ตูข่อยบ่หนี
ตายเป็นผีกะสินำมาหลอก                 ออกจากบ้านกะสิหว่านดินนำ
หว่านดินนำกะให้แม่สาวย้าน..............................................


การแต่งกาย

การแต่งแบบชุดศรัทธา คือสวมเสื้อแขนกระบอกย้อมคราม มีการตกแต่งตัวเสื้อด้วยด้ายสีและกระดุมสีต่างๆ  นุ่งโสร่งหรือผ้าซิ่นมัดหมี่คั่นต่อตีนซิ่น ที่เอวจะแขวนกระดิ่งหรือกระพรวนคอวัว สวมหมวกกาบเซิ้ง พาดสไบขิดสีแดงเฉียงไหล่ สวมส่วยมือ หรือถือร่มพื้นเมือง
???????????????????.

 
 
สาธุการบทความนี้ : 323 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 322 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:33:47  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่21)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนมโนราห์เล่นน้ำ


เป็นการฟ้อนที่ได้ตัดตอนเนื้อหามาจากวรรณกรรมพื้นเมืองอีสาน-ล้านช้าง เรื่อง ?ท้าวสีทน-มโนราห์? หรือในท้องที่ภาคกลางของไทยรู้จักในเรื่อง ?พระสุธน ? มโนราห์? อันเป็นเรื่องที่มีเค้ามาจากชาดกทางพระพุทธศาสนา จึงเป็นวรรณกรรมที่แพร่หลายอย่างมากทั้งในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ฟ้อนมโนราห์เล่นน้ำ ได้เลือกเอาตอนหนึ่งมาแสดงคือ ตอนที่นางมโนราห์และพี่ทั้งหกตน ลงจากเขาไกรลาสมาเล่นน้ำในสระอโนดาต เมื่อพรานบุญผ่านมาพบเข้าเห็นเหล่านางกินรีเล่นน้ำอยู่ จึงใช้บ่วงนาคบาทจับตัวนางมโนราห์ไป พี่ๆของนางมโนราห์ไม่สามารถจะช่วยเหลืออะไรได้ จึงต้องบินกลับเขาไกรลาสไป

ฟ้อนมโนราห์เล่นน้ำ ได้ประดิษฐ์คิดค้นการแสดงโดย คณาจารย์จาก วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด โดยมี อ.ทองคำ ไทยกล้า เป็นผู้จัดทำนองลายดนตรี อ.ทรงศักดิ์ ประทุมศิลป์ เป็นผู้ปรับปรุงตกแต่งความกลมกลืนของท่าฟ้อนและทำนองลายเพลง อ.ฉวีวรรณ ดำเนิน(พันธุ) เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าฟ้อนและออกแบบเครื่องแต่งกายร่วมกับ อ.จีรพล เพชรสม

ท่าฟ้อนที่ใช้ในการแสดงชุด ฟ้อนมโนราห์เล่นน้ำ ได้แก่ ท่ายูงรำแพน ท่าสาวประแป้ง ท่าอุ่นมโนราห์ ท่าอาบน้ำ ท่าบัวหุบบัวบาน ท่าไซร้ปีกไซร้หาง ท่าตีกลองน้ำ ท่าบินโฉบ เป็นต้น
ดนตรี บรรเลงด้วยวงโปงลาง ลายลำเพลินแก้วหน้าม้า



การแต่งกาย

- นางมโนราห์  สวมเสื้อแขนสั้นสีขาวคล้ายเสื้อระบำลพบุรี นุ่งผ้าซิ่นมัดหมี่ยาวคลุมเข่าและรัดเอวด้วยผ้าสีเงิน สวมสร้อยคอเพชร มีปีกและหาง ผมเกล้ามวยประดับมงกุฎเพชร ที่นิ้วสวมเล็บทองเหลือง
- ตัวพี่ๆของนางมโนราห์  สวมเสื้อแขนสั้นสีเหลืองคล้ายเสื้อระบำลพบุรี นุ่งผ้าซิ่นมัดหมี่ยาวคลุมเข่าและรัดเอวด้วยผ้าสีทอง สวมสร้อยคอเพชร มีปีกและหาง ผมเกล้ามวยประดับมงกุฎเพชร ที่นิ้วสวมเล็บทองเหลือง
..................................................

 
 
สาธุการบทความนี้ : 326 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 324 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:37:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่22)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนคอนสะหวัน



คำว่า ?คอนสะหวัน? ในภาษาลาว ตรงกับคำว่า ?คอนสวรรค์? (ชื่ออำเภอหนึ่งในจังหวัดชัยภูมิ) มีความหมายว่า อาณาเขตของสวรรค์ เป็นชื่อแขวงหนึ่งในประเทศลาว ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น สะหวันนะเขด (สวรรค์เขต) อันเป็นเมืองที่อยู่ตรงข้ามกับอำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

การฟ้อนคอนสะหวัน มีประวัติและความเป็นมาอย่างไรค่อนข้างไม่แน่ชัด แต่เข้าใจว่า เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวสะหวันนะเขด ที่แพร่กระจายเข้ามาสู่ชุมชนอีสานในตอนเหนือของไทยจากนั้นก็ได้เริ่มแพร่หลายเข้าสู่ชุมชนอื่นๆ

ฟ้อนคอนสะหวันเป็นการฟ้อนเพื่อประกอบกับทำนองขับลำคอนสะหวัน มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการเกี้ยวพาราสี ของหญิงสาวต่อชายหนุ่มด้วยผญาที่มีการกล่าวหยอกล้อเป็นสำนวนอุปมาอุปมัยที่ใช้เปรียบเทียบตนเองและชายหนุ่ม จุดเด่นของการฟ้อนชุดนี้อยู่ที่ลีลาท่าทางอ่อนช้อยของหญิงสาว

วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ดได้นำทำนองการขับลำคอนสะหวัน มาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดงพื้นเมืองอีสาน โดยมี อ.ฉวีวรรณ ดำเนิน(พันธุ) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปการแสดง หมอลำพื้นบ้าน เป็นผู้รวบรวมและประดิษฐ์ท่าฟ้อน ซึ่งมีความอ่อนช้อยสวยงามตามแบบการฟ้อนพื้นเมืองอีสาน

การแต่งกาย
ผู้แสดงเป็นหญิงล้วนสวมเสื้อแขนกระบอก ใช้ผ้าสไบขิดคล้องคอ นุ่งผ้าซิ่นมัดหมี่ยาวกรอมเท้า ผมเกล้ามวยประดับดอกไม้ และสวมเครื่องประดับเงิน

กลอนลำคอนสะหวัน

ใหม่ๆ แก้มอ้ายเจ้าใหม่ๆ นางบ่ไปดอกนำไผ ส่วนสิเมือนำอ้าย (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย  นางสิได้กล่าวเกี้ยวน้อมเหนี่ยวคอนสะหวัน ความสัมพันธ์ไมตรี อย่าได้มีวันฮ้าง (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย อันว่านางละกับอ้าย หนอกับอ้าย ขอให้เป็นดั่งเครือฝ้าย สายยาวๆคือเซือกว่าว เด้อ้ายผู้ดีเอย หันนำกันอยู่เล่าล้าว ให้เป็นเพิงดอกเบี่ยงเดียว (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย เพิ่นว่าบุญจึงมาพ้อ บุญหอจึงมาจวบ บุญนางหลายมากล้น จึ่งมาพอหนอจวบเห็น (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย เจ้าผู้แนวนามซ้าง หางยาวสนุกแก่ง เด้อ้ายผู้ดีเอย น้องนี่เซื้อไก่กุ้ม หางสั้นแก่งบ่ทัน (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย คันเจ้าเทียวทางเวิ้ง ไปโดนมันสิเมื่อย เด้อ้ายผู้ดีเอย ให้อ้ายเทียวฮ่วมน้อง ทางนั้นแม่นบ่อนเดียว (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย คันว่าสิบสิเลี้ยว คันว่าซาวสิเลี้ยว ให้เลี้ยวแต่หนทาง ส่วนว่าใจของซาย อย่าได้มีวันฮ้าง (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย เห็นน้องดำขี้หลี่ อย่าฟ้าวขี่เฮือกาย เห็นน้องดำข่อยล่อย อย่าฟ้าวพายหนอเฮือเว้น (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย คันว่าเฮืออ้ายหล่ม ดำข่อยล่อยสิหยู้ซอย คันบ่ได้ซอยหยู้ ยังสิได้แม่นซอยพาย (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย อุปมาว่าน้องแล้ว ว่าน้องแล้วคือดั่งเฮือบ่มีน้ำ บ่มีคลองอันกว้างใหญ่ เด้อ้ายผู้ดีเอย คันว่าเป็นดั่งน้องแล้ว สิได้เป็นข้าไพร่บ้าน สิได้ย้อนว่าใส่แคน ฟังแล้วจั่งสิยอ (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย ไปนำบ่ดอกบ้านน้อง คอนสะหวันเฮือนน้องอยู่ คันแม่นน้องได้ฮ่วมอ้าย ให้นอนแป้นดอกแผ่นคำ (เฮ้ยย่ะๆๆ..ๆ)
ชายเอย คอนสะหวัน สิลาแล้ว สาวหมอลำสิลาก่อน สวยพอนๆหนอห่านี้ สิลาอ้ายดอกอ่วยลง โอ๋ละนอ........................
..............................

 
 
สาธุการบทความนี้ : 302 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 301 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:40:44  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่23)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนเต้ยเกี้ยว



เต้ย เป็นท่วงทำนองและลีลาการขับลำชนิดหนึ่งของภาคอีสานที่ผู้ลำจะต้องฟ้อนประกอบการลำตามจังหวะและทำนอง โดยได้รับอิทธิพลมาจากการขับลำของชนชาติลาวตอนใต้ ลำเต้ยเป็นการลำเพื่อหยอกล้อหรือเกี้ยวพาราสี หลังจากที่ผู้ลำได้โต้ตอบไหวพริบปฏิภาณมาแล้วในการลำทางสั้น ลำทางยาว ดังจะปรากฏในกลอนลำของหมอลำกลอนเสมอว่า ?พอแต่ลำทางสั้นหันมาทางล่อง พอแต่ลำล่องแล้วมาลำเกี้ยวเสน่ห์ ตั้งหลายปีแล้วเด้ที่เฮาพรากจากกัน แสนรำพันคะนึงคิดห่วงแต่นงนางน้อง.....? (หมอลำทองคำ เพ็งดี) หรือ ?เหมิดพิษลำทางสั้น หันลายยาวจ้าลายล่อง พอแต่ลำล่องแล้วมาลำเต้ยเข้าใส่กัน......? (หมอลำฉวีวรรณ ดำเนิน)
จากข้อความนี้ที่กล่าวถึง พอจะอนุมานได้ว่า ขนบในการขับลำของภาคอีสานนั้นเริ่มจากการลำทางสั้น ต่อด้วยลำทางยาวและลำเต้ยเป็นการปิดท้ายเสมอ

อย่างไรก็ตาม ลำเต้ยมิได้ปรากฏอยู่ในเฉพาะการประกอบลำกลอนเท่านั้น แม้แต่หมอลำเรื่องหมอลำเรื่องต่อกลอน หรือหมอลำเพลินก็จะยังต้องมีลำเต้ยประกอบอยู่เสมอ ซึ่งส่วนมากจะเป็นตอนที่หนุ่มสาวหรือตัวพระ- ตัวนางออกมาเกี้ยวพาราสีกัน เพียงแต่ว่าบางคณะก็ใช้เต้ยหัวโนนตาล เต้ยเดินดง บางครั้งก็เต้ยธรรมดาออกเต้ยโขงและเต้ยพม่า ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับเนื้อหาสาระและอารมณ์ของเรื่อง หรือความรู้ความสามารถของตัวหมอลำเอง

ฟ้อนเต้ยเกี้ยว จึงเป็นการฟ้อนเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาวมาจากการฟ้อนรำ ประกอบการลำเต้ย ของชาวจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งการแสดงชุดนี้ยังเป็นการนำเสนอการลำทำนองเต้ยต่างๆถึง 5 ทำนองด้วยกันคือ ทำนองเต้ยเดือนห้า เต้ยหัวโนนตาล เต้ยธรรมดา เต้ยพม่าและเต้ยโขง
ซึ่งได้ประดิษฐ์คิดค้นโดยคณาจารย์จากวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด มีท่าฟ้อนต่างๆ เช่น ท่าผู้สาวเดินลงท่งท่าสอดสร้อย ท่าเกี้ยวซู้ ท่าทศกัณฑ์โลมนาง ท่าลมพัดพร้าว ท่ากินรีชมดอก ท่าสาวน้อยประแป้ง ท่ายูงรำแพน ท่าหนุมานถวายแหวน ท่านกกระเจ่าบินวน ท่านาคเกล้าเกี้ยว ท่าหลีกแม่เมีย ฯลฯ ซึ่งเป็นการแสดงที่ได้จากกระบวนท่าฟ้อนแม่บทอีสานแทบทั้งสิ้น

การแต่งกาย
- ชาย  สวมเสื้อแพรแขนสั้นลายขิดสีทองยกดิ้น นุ่งโจงกระเบนสีเขียวปล่อยชายพับจีบหน้านางด้านซ้าย ใช้ผ้าสไบยกดิ้นทองมัดเอว สวมสร้อยคอและกำไลเงิน
- หญิง  สวมเสื้อแขนเลยสีแดง หรือที่เรียกว่า ?เสื้อแขนเลย? ห่มสไบขิดยกดิ้นทอง นุ่งผ้าซิ่นจกลุ่มน้ำโขงสีทองยาวกรอมเท้า ผมเกล้ามวยประดับดอกไม้ สวมเครื่องประดับเงิน


กลอนลำเต้ยเกี้ยว

เต้ยเดือนห้า
(ชาย)    สวยเอ้ย.....สวยหลายน้อ นอน้อง แม่ทองปอนก้อนน้ำคั่ง.....
อุ่น...คนงามของอ้ายนี่เอย...สวยหลายน้อหม่อมน้องแม่นไผปั้นหล่อมา  อาดหลาดธาตุใหญ่ธาตุพนม อ้ายอยากโจมไปตั้งร้อยเอ็ดคำให้มันเดื่อง เบิ่งเด้น้อง
โอเด้  ให้มันเหลืองเอ้อเห้อ ให้คนเอิ้นว่าแผ่นทองละจั่งว่าแก้มอ่องต้อง อยากซอนเสื่อโอยนำเด้
(หญิง)   ออกจากบ้านกวยข้อ ยอแขน ตานางทำซอนแลนแอ่นกายกะเลยฟ้อน ไปซอนลอนกับอ้าย แขนก่าย เปื้องป่าย ไปนำกันสะหล่าย หล่าย เดินนำกันสะหล่าย หล่าย เดินผ่านฝ่ายถนนดังจ้นๆ  คนกะเห่เลไหล ไปไวไวเลยเขิน หว่างเนินเขินน้ำ....
เต้ยหัวโนนตาล
(ชาย) โอเด พระนางเอย พระนางเอ้ย อ้ายนี่มาเสียอกตั้งแต่บ้านอ้ายอยู่ไกล อ้ายนี่มาเสียใจละตั้งแต่บ้านอ้ายอยู่ห่าง หลายเด พระนางเอย อ้ายโลดพอ อยากต้าน โนนบ้านเข้าใส่กัน ละจั่งว่าแก้มปั่นหวั่น สันศลากะมันเอย ..มันเอย..สันศลากะมันเอย
เต้ยธรรมดา
(หญิง)  โอ๋ย ละพี่ชายเอ้ย ฟังคารมชายเว้ามันมีนัยละคันเจ้าหลายวาด พาลให้คลาดลาดล้ม เดือนห้าแม่นก่อนฝน นั่นละนาหนานวลนา ละนาหนานวลนา สังสิมาลวงล่อ อย่าสอพลอให้นางล้ม
เต้ยพม่า
(ชาย)  มาพบหน้านงคราญ แม่ตาหวานยิ่งล้ำ วาสนาชักนำให้ได้มาพบเจอ อ้ายบ่ได้นึกฝัน ว่าจะมาเจอะเจอ คนสวยเลิศเลอหยาดฟ้ามาดินๆ
เต้ยโขง
(หญิง)  โออ้ายเอ๋ย น้องขอชิดเชยบ่เคยหน่ายแหนง ๆ น้ำโขงบ่เคยเหือดแห้ง ความฮักแพงบ่ได้นึกหวั่น ใจกระสันยังห่วงละเมอ ๆ........

มาอ้ายมา น้องสิพาไปล่องโขง ๆ ไปลงเรือเขมราฐ ฟังเสียงน้ำโตนตาดดังอยู่ลื่นหลื่นลื่นหลื่นลื่น ๆ
สิบคืนอีน้องสิถ่า ซาวพรรษาละอีน้องสิอยู่ มีซู้อีน้องบ่เว้า สิคอยเจ้าแต่ผู้เดียว เกี้ยวกันก่อนออนซอนนา ๆ อย่าป๋าอย่าไล่กันหนา อย่าป๋าอย่าไล่..กันหนา......
..................................................

 
 
สาธุการบทความนี้ : 348 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 347 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:45:12  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่24)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนกะโป๋*

(*ปัจจุบัน วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ดมีความเห็นควรว่า คำว่า"เซิ้ง"ไม่ได้มีความหมายถึงการฟ้อนรำของชาวอีสาน เพราะ เซิ้ง คือการขับกาพย์ ซึ่งมักจะมีการฟ้อนประกอบด้วย ไม่นับเป็นการร่ายรำ

ดังนั้น จึงได้บัญญัติคำว่า "ฟ้อน" ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกกริยาการฟ้อนรำของชาวอีสาน ชุดการแสดงใดๆที่เคยเรียกว่า เซิ้ง ก็เปลี่ยนมาเป็น ฟ้อน เช่น เซิ้งแหย่ไข่มดแดง เปลี่ยนเป็น ฟ้อนแหย่ไข่มดแดง  ยกเว้น เซิ้งบั้งไฟและเซิ้งนางด้ง เพราะเป็นการแสดงเซิ้งอย่างตรงตัวอยู่แล้ว


กะโป๋ คือกะลามะพร้าว ชาวอีสานรู้จักการใช้ประโยชน์จากกะลามะพร้าวมาเป็นวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น กระบวยตักน้ำ และสามารถทำเป็นเครื่องดนตรี เช่น พิณกระแสเดียว และซอของชาวอีสานใต้ เป็นต้น

ฟ้อนกะโป๋ เป็นการแสดงที่ได้ดัดแปลงมาจากการละเล่นของชาวอีสานใต้ ซึ่งได้แก่ในบริเวณจังหวัด สุรินทร์ บุรีรัมย์ และศรีษะเกษ เป็นการแสดงที่มีความสนุกสนานรื่นเริง โดยใช้กะลาที่ขัดผิวจนมันเป็นอุปกรณ์หลักในการประกอบจังหวะ และที่น่าสังเกตคือ ประเทศต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ฟิลิปปินส์  อินโดนีเซีย กัมพูชา และมาเลเซีย ก็มีการละเล่นเกี่ยวกับการเคาะกะลาเช่นเดียวกัน

ฟ้อนกะโป๋ในแบบฉบับวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด ได้นำการแสดงชุด ระบำกะลา ของชาวอีสานใต้มาดัดแปลงให้เป็นรูปแบบนิยมของอีสาน เนื่องจากว่า ระบำกะลา มีจังหวะและท่วงทำนองท่าช้าเนิบนาบ จึงได้แต่งดนตรีขึ้นใหม่ให้มีจังหวะที่สนุกสนานยิ่งขึ้น โดยนำเอาแต่งลายดนตรีมาผสมกับลายเพลงพื้นเมืองอีสานใต้ ได้แก่ ทำนองเจรียงซันตรู๊จน์ จนได้ทำนองเพลงที่เป็นลักษณะเฉพาะในการแสดงชุด ?ฟ้อนกะโป๋?

การแต่งกาย
- หญิง สวมเสื้อแขนกระบอก ใช้สไบขิดเฉียงไหล่ซ้ายแล้วไปมัดที่เอวด้านขวา นุ่งโจงกระเบน มีผ้าผืนยาวมัดเอว ผมเกล้ามวยประดับดอกไม้ สวมเครื่องประดับเงินประเกือม
- ชาย สวมเสื้อผ้าแพรแขนสั้น นุ่งโจงกระเบน ใช้ผ้าสไบขิดพาดไหล่ มีผ้าผืนยาวมัดเอว สวมสร้อยคอและกำไลเงิน
????????????????

 
 
สาธุการบทความนี้ : 343 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 342 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 02:59:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   165) การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด  
  อ้ายโอ๊ต    คห.ที่25)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  อนุเซียนผู้อมตะ

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด-สาเกตนคร
เข้าร่วม : 10 ก.ย. 2550
รวมโพสต์ : 6595
ให้สาธุการ : 695
รับสาธุการ : 17772870
รวม: 17773565 สาธุการ

 


ฟ้อนดึงครกดึงสาก

พิธีกรรมการดึงครกดึงสาก เป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับฝนฟ้า ซึ่งมักจะประกอบพิธีในช่วงปลายฤดูแล้ง เพื่อเป็นการเสี่ยงทายว่าในปีที่ทำการเสี่ยงทายนั้นจะมีปริมาณน้ำฝนมากน้อย พอเพียงต่อการทำนาหรือไม่ การประกอบพิธีกรรมการดึงครกดึงสากจะต้องมีอุปกรณ์ คือ ครกมอง สากตำข้าว และเชือกเพื่อผูกสากตำข้าวในการดึงเสี่ยงทาย โดยจะมีผู้ดึงฝ่ายชายด้านหนึ่งและฝ่ายหญิงอีกด้านหนึ่ง และจะมีขจ้ำหรือผู้ติดต่อวิญญาณเป็นผู้ตั้งครกไว้ตรงกลางหมู่บ้าน และเมื่อขจ้ำทำพิธีป่าวสักเคหรือพิธีการอัญเชิญเทวดา ก็จะบอกให้ผู้ร่วมพิธีดึงเชือกที่ผูกสากตำข้าว(ลักษณะเหมือนกับการดึงชักเย่อ)หากสากตำข้าวแตะที่ขอบครกด้านใด ถือว่าด้านนั้นเป็นผู้ชนะและจะทำนายตามผลที่จะออกมานั้น เช่น ในปีนั้นได้กำหนดว่า ถ้าฝ่ายชายชนะ ถือว่าปีนั้นน้ำท่าจะไม่บริบูรณ์ ถ้าฝ่ายหญิงชนะก็แปลว่าน้ำท่าในการทำนาจะบริบูรณ์ดี เป็นต้น

?ฟ้อนดึงครกดึงสาก? ได้คิดประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2525 โดยเหล่าคณาจารย์จาก วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด ได้แก่ อ.จีรพล เพชรสม, อ.ฉวีวรรณ พันธุ (ดำเนิน), อ.ทองคำ ไทยกล้า, อ.ทรงศักดิ์ ประทุมศิลป์ และอ.ทองจันทร์ สังฆะมณี โดยทำการลงพื้นที่เก็บข้อมูล การทำพิธีกรรมดึงครกดึงสาก จากชุมชนชาวไทลาว บ้านเมืองทอง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่ง อ.ทองคำ ไทยกล้าและ อ.ทรงศักดิ์ ประทุมศิลป์ เป็นผู้คิดลายเพลง อ.ฉวีวรรณ พันธุ (ดำเนิน)เป็นผู้ออกแบบเครื่องแต่งกาย และอ.ทองจันทร์ สังฆะมณีเป็นผู้ปรับปรุงตกแต่งและจัดรูปแบบ คัดเลือกลายเพลง, การแต่งกายและความกลมกลืนในรูปแบบศิลปะโดยอ.จีรพล เพชรสม

ท่าฟ้อนที่ได้นำมาใช้ ได้แก่ ท่าถวยแถน ท่าแฮ้งตากขา ท่ากาตากปีก ท่าคนขาแหย่ง ท่ามวยไทย ท่าอีแหลวเซิ่นเอาไก่น้อย ท่าควายเถิกใหญ่เล่นชนกัน ท่ายูงลำแพน ฯลฯ

บรรเลงลายดนตรี ลายภูไทใหญ่ ลายยาวลงข่วง ลายคอนสะหวัน ลายสุดสะแนนสลับกับลายเพลงลูกทุ่ง



การแต่งกาย

- หญิง แสดงเป็นผู้ดึงทั้งสองข้าง สวมเสื้อแขนกระบอกสีแดง อีกฝั่งหนึ่งสีเขียว ใช้สไบขิดมัดเอวเป็นโบว์ นุ่งโจงกระเบน ผมเกล้ามวยมัดมวยผมด้วยผ้าตามสีเสื้อ สวมเครื่องประดับเงิน
- ชาย แสดงเป็นเสาทั้ง 4ทิศ สวมเสื้อผ้าฝ้ายแขนสั้น นุ่งโสร่งหรือโจงกระเบน ใช้ผ้าสไบขิดมัดเอว สวมสร้อยคอและกำไลเงิน

- ตัวหลักหรือตัวเอก เป็นหญิง สวมชุดแบบพื้นเมืองอีสานโบราณ คือ ห่มสไบเฉียง นุ่งผ้าซิ่นไหมมัดหมี่ยาวกรอมเท้า ผมเกล้ามวยประดับดอกไม้ สวมเครื่องประดับเงิน
????????????????

 
 
สาธุการบทความนี้ : 322 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 321 ครั้ง
 
 
  30 ส.ค. 2551 เวลา 03:03:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128

   

Creative Commons License
การแสดงพื้นบ้าน ที่เปนเอกลักษลักษณ์ของร้อยเอ็ด --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ