ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
เชื้อชาติอ้อยบ่ห่อนเกิดเป็นเลา แซงตาเปาบ่ห่อนเป็นกอได้ แปลว่า เป็นธรรมดาว่า ลำอ้อย ย่อมไม่เป็นท่อ ทะลายต้นตาเปา ย่อมไม่เกิดเป็นกอ หมายถึง ธรรมชาติ มันเป็นเช่นนั้น พึงพอใจในความเป็นตัวของตัวเอง


  ค้นหากระทู้ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1  
  โพสต์โดย   1042) การประกวดวงดนตรีพื้นเมือง(วงโปงลาง)ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ ครั้งที่3  
  สาวนาฏศิลป์    คห.ที่97) คณะกรรมการ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์ใหม่ไร้วรยุทธ์

ภูมิลำเนา : สกลนคร
เข้าร่วม : 10 ม.ค. 2554
รวมโพสต์ : 2
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 4310
รวม: 4310 สาธุการ

 
คณะกรรมการในการตัดสินน่าจะแบ่งคนละครึ่งนะคะ เพราะงานที่เชียงคานมีคณะกรรมการตัดสินนาฏศิลป์แค่ 2 คน ที่เหลือเป็นคณะกรรมการด้านดนดรีทั้งหมด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 213 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 213 ครั้ง
 
 
  11 ม.ค. 2554 เวลา 11:31:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1042) การประกวดวงดนตรีพื้นเมือง(วงโปงลาง)ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ ครั้งที่3  
  สาวนาฏศิลป์    คห.ที่115)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์ใหม่ไร้วรยุทธ์

ภูมิลำเนา : สกลนคร
เข้าร่วม : 10 ม.ค. 2554
รวมโพสต์ : 2
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 4310
รวม: 4310 สาธุการ

 
คุณบ่าวดินดำ:
สวัสดีทุกท่านนะคราบ ผมเปนสมาชิกใหม่ จากที่ผมได้อ่านข้อความของทุกท่านแล้ว และได้ยินได้ฟังได้ชมการแสดงของทุกโรงเรียน ทั้งหลายๆที่ และที่เชียงคานแล้วนะคราบ ถ้าจะพูดกันถึงประเด็นของ รร สว่างแดงดิน กะ รร. กาฬสินธุ์พิท กินกันไม่ลงคราบถ้าดูแบบผู้ชมทั่วไป
แต่ถ้าดูแบบผู้ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการแสดงและผู้ที่ได้ทำงานกับผู้ที่มีประสบการณ์ทางการแสดงเกี่ยวกับนาฏศิลป์ แล้วนั้น  วงที่ฟ้อนได้ถูกต้องตามแบบ และบรรเลงลายเพลงได้ถุกต้องควรจะได้รับรางวัลชนะเลิศไป ส่วนท่าฟ้อนและลายเพลงที่คิดขึ้นใหม่นั้นถ้าทำขึ้นโดยใช้หลักการของ นาฏศิลป์ และ ดนตรีพื้นเมืองอีสาน กรรมการควรศึกษาท่ารำอีสานให้ดีแล้วค่อยมาตัดสิน เพราะดูและฟังจากกรรมการคอมเม้นแล้วไม่ได้กล่าวถึงหลักการของการฟ้อนเลย และคำบ้างคำกรรมการก็ไม่ควรใช้ด้วยซ้ำ เพราะฟังแล้วมันไม่น่าใช่คำพูดของผู้รู้ เช่น การที่กล่าวถึงว่า นักเรียนที่มาระประในงานนี้ รำสวยกว่านักศึกษามหาวิทยาลัย เพราะเขารำเป็นรำไทยมากกว่า ผมว่า การที่เรียนวิชานาฎศิลปก็เพราะอยากพัฒนาการฟ้อนรำให้สวยขึ้น และอีกอย่าครูที่สอนฟ้อนรำของวงโปงลางแต่ละโรงเรียนก้อมีพื้นฐานการรำไทยส่วนมากนะคราบถ้าไม่มีรำไทยแล้วการรำของนางรำทุกวงคงรำไม่สวยขนาดนี้นะคราบ และที่ว่าวงหนองเรือเอารูปแบบเดิมมาแสดงแล้วยังไงก็ไม่ได้รางวาลได้แค่นั้นระดับกลางๆ แลัวทำไมไม่ว่าสว่วงแดนดินบ้างที่เอารูปแบบเดิมมา ส่วนกล่าวถึงองค์รวมหรือภาพรวมผมว่าให้ทั้ง 2 วง แต่ผมจะเอาจุดที่รำไม่ถูกต้องตามต้นแบบ การแต่งกายไม่ถูกตามแบบและการแปรแถวการใช้เวทีมาตัดคะแนนออก วงใหนเหลือคะแนนมากกว่าวงนั้นก็คงได้รางวัลไปนะคราบ  ตัดสินงานต่อไปรบกวนกรรมการดูท่ารำในแต่ละลายที่ใช้ประกวดด้วยนะคราบว่ารำได้ถูกต้องตามแบบใหมแต่งกายถูกต้องตามแบบหรือปว่า เช่นชุดภูไท ว่าภูไทที่ใดแต่งกายแบบใหน มี่อะไรบ้างเป็นส่วนประกอบการแต่งกาย ผมอยากเรียนอีกอย่างว่ากรรมการไม่ควรเชียร์วงที่ตนชื่นชอบจนเห็นได้ชักเจนเกินไปเพราะจะทำให้ผู้ชมผู้เชียร์วงอื่นๆตำหนิได้นะคราบ

    ถ้าจะให้กรรมการด้านนาฏศิลป์คอมเม้นเรื่องท่ารำคงยากค่ะ เพราะ กรรมการท่านนี้ท่านจบด้านไอที  ที่ท่านได้มาเป็นคณะกรรมการเพราะท่านได้เขียนหนังสือหรือวิจัย(ไม่แน่ใจนะคะว่าอันไหน)เกี่ยวกับวัฒนธรรมอีสาน แต่ไม่ได้จบด้านนาฏศิลป์มาโดยตรง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 218 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 217 ครั้ง
 
 
  12 ม.ค. 2554 เวลา 15:02:29  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1

   

Creative Commons License
การประกวดวงดนตรีพื้นเมือง(วงโปงลาง)ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ ครั้งที่3 --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ