ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 26 เมษายน 2568:: อ่านผญา 
ฝนตกห้งไหลโฮมแต่นาลุ่ม บาดนาโตใกล้ฟ้าฝนเท้งผัดแล่นกลาย แปลว่า ฝนตก น้ำฝนไหลไปขังอยู่เฉพาะในที่ลุ่ม แต่นาดอนซึ่งอยู่สูงใกล้ฟ้ากว่า น้ำฝนกลับไหลหนี หมายถึง ผลอันดี ผลอันเป็นสุข ย่อมหลั่งไหลไปหาผู้มีบุญซึ่งเหมาะสม


  ค้นหากระทู้ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1 2  
  โพสต์โดย   302) แกลออ (รำออ)  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่31)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
บ้านผมแถวโพธิศรีจะเอิ้นว่าสะเองกับลงอ้อลงเเถนครับแต่พิธีต่างๆๆสิคือกันครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  23 ก.ย. 2553 เวลา 20:01:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   30) ฟ้อนลีลาวดี -เต้ยหัวโนนตาล -เทพีศรีนาคา -บวงสรวงชีวายนาค  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่26)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


เป็นตาภูมิใจน้อครับอ้ายโอ๊ตฮูปที่อ้ายโอ๊ตวาดได้เอื้อประโยชน์อย่างหลวงหลายแก่วัฒนธรรมอีสานเฮามื้อนั้นเบิ่งโทรทัศน์เห็นรูปฟ้อนโหวดในรายการ 50:50 หวนให้คึดฮอดอ้ายโอ๊ตทันทีเลย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 299 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 299 ครั้ง
 
 
  06 มิ.ย. 2553 เวลา 17:05:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   528) วิจิตรแพรวาที่บ้านโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่15)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
อยากได้หล้ายหลายครับ  งามแฮง  พอสิบอกได้บ่ครับว่าไปชื้อยุใส  ผมยุ  มมส  สารคามครับ  อยากได้ไปฝากยายครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  24 ก.ย. 2553 เวลา 20:32:20  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   558) วงแคน ในงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 9 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่14)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
ไทวงแคนน่าฮักสู่คนน้อครับ(โดยเฉพราะอ้านก้านอิอิอิ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  20 ธ.ค. 2552 เวลา 20:03:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   678) ฟ้อนหางนกยูง จ.นครพนม  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่12)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
เห็นหมู่ผมที่เป็นช่างฟ้อนหางนกยูงในงานบูชาพระธาตุพนม(ฟ้อนสู่ปีครับ)บอกว่าของสารคามอ่าครับ  จะบ่เหมือนของจริง  และกะจับไม้บ่คือกันนำครับ(ช่างฟ้อนเค้าบอกมานะครับ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 224 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 224 ครั้ง
 
 
  23 ก.ย. 2553 เวลา 20:05:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   718) โฮมตุ้มผลงานของอ้ายโอ๊ต  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่164) ผลงานอ้ายโอ็ต      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
เมื่อวานขึ้นรถบขสมาจากศรีสะเกษเห็นผลงานของพี่โอ็ตบนกล่องอาหารเบรค  แบบสวยงามมาก

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  04 พ.ค. 2555 เวลา 17:23:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   730) ขอเชิญเที่ยวงานลอยกระทง ม.มหาสารคาม ประจำปี 2552 วันที่ 31 พ.ย.52นี้  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่44)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
ผู้สาวเมืองตักสิลางามสู่คนครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 14:33:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   108) ลายฟ้อนมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขามแก่น  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่34) ขอลายเพลง      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
ขอลายเพลงมิ่งมหานคราพุทธบูชาพระธาตุขาแก่นนำแน่ครับนิสิตมมสการโรงแรมครับ joe_04@windowslive.com

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  25 ม.ค. 2553 เวลา 01:39:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่0) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


แดนปราสาทขอม  หอมกระเที่ยวดี   มีสวนสมเด็จ   เขตดงลำดวน   หลากล้วนวัฒนธรรม  เลิศล้ำสามัคคี  ประชาชนในศรีสะเกษจะประกอบไปด้วยเผ่า ส่วย  เขมร  ลาว  เยอ  มีวัฒนธรรมเเละประเพณีที่แตกต่างกันในเเต่ละชนเผ่า

 
 
สาธุการบทความนี้ : 579 ครั้ง
จากสมาชิก : 6 ครั้ง
จากขาจร : 573 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 15:40:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่1) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ชาวเยอเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พบในแถบอีสานใต้และอีสานเหนือบางส่วน รวมทั้งฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ในครั้งที่กษัตริย์ขอมปกครองนครจำปาศักดิ์นั้น
ชาวข่าเป็นชนอีกกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ในแถบนั้น ชาวข่าเรียกตัวเองหลายอย่าง เช่น จะ ระแด บูร กูย ฯลฯ ข่ามีอยู่ ๒กลุ่ม คือ
๑. กลุ่มที่อยู่ทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง อยู่กระจายตามเมืองขึ้นของจำปาศักดิ์ เนื่องจากในสมัยที่นครจำปาศักดิ์ตั้งเป็นรัฐอิสระ มีเจ้าสร้อยสมุทรพุทธางกูร
ปกครอง ราว พ.ศ. ๒๒๕๑-๒๒๗๕ได้ขยายอำนาจเข้ามาครอบคลุมเขตพื้นที่เมืองอีสาน และอพยพชนชาวข่าและชาวลาวมาตั้งถิ่นฐานอยู่ทางฝั่งซ้ายและ
ฝั่งขวาของแม่น้ำโขง ข่าที่อยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเรียกว่า ข่าจะแด ข่าวะ ข่าบูร ข่ากูย (กวย)
๒. กลุ่มที่อยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง แบ่งออกเป็น ๒กลุ่ม คือ กูย เดิมอยู่ในเขตเมืองอัตบือแสนแป สารวัน อพยพมาอยู่ในประเทศไทยเมื่อใดไม่ปรากฏ
สมัยรัชกาลที่ ๓เรียกพวกนี้ว่าส่วย ซึ่งมีทั้งส่วยที่อยู่ติดเขตแดนเขมร และส่วยที่อยู่ติดเขตแดนลาว และอีกกลุ่มหนึ่งคือพวกเยอที่อยู่ใกล้เขมร บางพวก
ยังคงรักษาวัฒนธรรมภาษาของตัวเอาไว้ เป็นชาติพันธุ์ตระกูลมอญ-เขมร จากการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ได้จัดชนชาติพันธุ์ชาวเยอเป็น
กลุ่มหนึ่งของกวยหรือกูย ซึ่งก็คือกวยเยอ ต่อมาจึงเรียกสั้น ๆ ว่า เยอ ดังนั้นชาวเยอก็คือกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งของกวยหรือข่า ที่อพยพมาอยู่ในประเทศไทย
เนื่องจากราว พ.ศ. ๒๒๒๔-๒๒๒๕เกิดเหตุการณ์ไม่สงบในเวียงจันทร์ จึงมีผู้นำชาวข่าอพยพมาตามเมือง รายทางฝั่งซ้ายและฝั่งขวาแม่น้ำโขง ซึ่งเป็น
เมืองขึ้นของจำปาศักดิ์ สืบเนื่องจากในสมัย เจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูรปกครองนครจำปาศักดิ์ ได้แผ่อำนาจการปกครองไปทั้งสองฝั่งแม่น้ำโขง รวมทั้ง
แถบอีสานใต้ ได้สร้างเมืองขึ้น ในแถบนี้คือ ศรีนครลำดวน จึงมีพวกข่าหรือพวกเยออพยพมาด้วย ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นหัวหน้าชาวกวยได้เลื่อน
บรรดาศักดิ์เป็น “พระ” และปกครองบ้านเมือง ผู้นำชาวเยอหลายคนได้นำชาวเยอ บางส่วนมาตั้งบ้านเรือนอยู่แถบเมืองศรีนครลำดวน(ปัจจุบันคือ
บ้านขมิ้น) โดยมีพระศิลา เป็นผู้นำบ้านเดิม พระโคตรและพระแก้วเป็นผู้นำบ้านขมิ้น ต่อมาเป็นบ้านโนนแกด (โนนแกด ภาษาเยอ แปลว่า โนนเล็ก ๆ)
โดยสรุปแล้ว ชาวเยอ เป็นชาติพันธุ์ในตระกูลมอญ-เขมร อพยพมาจากฝั่งขวาของแม่น้ำโขง มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น กวย กูย ข่า หรือส่วย อพยพมา
เมื่อใดไม่ปรากฏ สาเหตุของการอพยพมาก็คือ หนีภัยจากความไม่สงบของบ้านเมืองและติดตามเจ้านาย ชาวเยอมีนิสัยรักสงบ ซื่อสัตย์ และเชื่อฟังผู้นำ
หรือผู้อาวุโส ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี มีภาษาพูดเป็นของตนเอง ซึ่งสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน  ปัจจุบัน มีชาวเยออาศัยอยู่ตามอำเภอต่าง ๆ
ในจังหวัดศรีสะเกษ ได้แก่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอราษีไศล อำเภอปรางค์กู่ อำเภอไพรบึง อำเภอห้วยทับทัน เป็นต้น บ้านเรือน บ้านเรือนของเยอ
เป็นบ้านหลังเล็ก ๆ ไม่ถาวรมากนัก ทำหลังคาสูง มุงหลังคาด้วยหญ้า บางบ้านที่มีฐานะดีจะกั้นฝาบ้านด้วยไม้ไผ่หรือใบตาล มีการกั้นห้องเป็นสัดส่วน แต่ไม่
ชัดเจนในการใช้ประโยชน์มากนัก โดยเริ่มแรกจะกั้นเป็นห้องยาว ๆ ตลอดตัวบ้านห้องเดียว ห้องนี้เป็นห้องที่เชื่อว่าเป็นที่อยู่ของผีเรือน ได้แก่ ผีปู่ย่า
ตายายหรือผีบรรพบุรุษ โดยเชื่อว่าจะอยู่ที่เสาเรือน ซึ่งเป็นเสาแฮก (เสาเอก)  เสาแฮกนี้จะอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของบ้าน ห้องนี้ชาวบ้านเรียกว่า
“ห้องเปิง” ใช้เป็นห้องนอนของลูกสาว และใช้เป็นที่เก็บสัมภาระต่าง ๆ ด้านหน้าของห้องเปิงจะเป็นห้องนอนของพ่อแม่ ส่วนห้องชานหลังบ้านจะเป็น
ห้องนอนลูกชาย ตลอดจนเป็นที่รับแขกที่มาเยี่ยมเยียน หรือแม่แต่เป็นที่พักอาศัยของบรรดาญาติที่มาจากต่างถิ่น นอกจากนี้ก็จะมีที่ยื่นออกไปด้านหลัง
ใช้เป็นที่ทำครัว

การแต่งกาย
     ผู้ชายจะนุ่งโสร่งหรือผ้าสีต่าง ๆ เป็นโจงกระเบน มีผ้าขาวม้าคาดเอวหรือคล้องไหล่ เครื่องประดับมีสร้อยคอรูปแบบต่าง ๆ ส่วนผู้หญิงจะแต่งกายด้วย
เสื้อแขนกระบอกคอกลมหรือคอตั้งสีสันต่าง ๆ นุ่งผ้าถุงโจงกระเบน มีเสื้อสีสันต่าง ๆ แต่ไม่มีลวดลายอยู่ด้านใน มีตุ้มหูเป็นเครื่องประดับที่สำคัญ

การผสมผสานกลมกลืนทางวัฒนธรรม
     การแต่งงานข้ามเผ่าพันธุ์ในกลุ่มชาวเยอนี้มีมาตั้งแต่อดีต มีการแต่งงานระหว่างชาวเยอกับชาวเขมร ชายเยอกับชาวลาว ชาวเยอกับชาวส่วยและ
ชาวเยอกับชายไทยเชื้อสายมอญแถบพระประแดงในอดีต อย่างไรก็ตามชาวเยอยังนิยมแต่งงานระหว่างชาวเยอด้วยกัน เพราะพูดกันรู้เรื่อง ในสมัย
ปัจจุบันนี้มีการแต่งงานข้ามเผ่าพันธุ์มากมายหลากหลายทั้งเชื้อชาติและจำนวน เช่น เขมร ไทยอีสาน ไทยภาคกลาง ไทยภาคใต้ รวมทั้งคนจีน เป็นต้น


อ้างอิง สำนักงานศิลปวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 466 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 463 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 16:02:39  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่2) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


เยอ หรือเผ่าเยอ อพยพย้ายถิ่นฐานมาจาก ประเทศจีนตอนบน ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าย้ายมาก่อน หรือหลังสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคนเผ่าเยอ ย้ายมาถึงจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

ต่อมาเกิดโรคะบาดจึงได้ได้แบ่งออกเป็นหลาย 4 กลุ่ม ย้ายถิ่นที่อยู่ใหม่ กลุ่มแรก เดินทางไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองปราสาทเยอ ซึ่งในปัจจุบัน คือบ้านปราสาทเยอ ตั้งอยู่ใน อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ

กลุ่มที่ 2 ได้ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใน อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอห้วยทับทัน ส่วนกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 อาศัยอยู่ใน อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ในปัจจุบัน ชื่อหมู่บ้านว่า บ้านขมิ้น อยู่ใน ตำบลทุ่ม อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ และบ้านโพนค้อ ตำบลโพนค้อ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ


ภาษา

ภาษาเยอ เป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ส่วนมากทุกๆคำจะพูดกันเป็นเสียง สามัญ (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา) ในประโยคบอกเล่า แต่ในประโยคคำถาม พยางค์สุดท้ายจะเป็นเสียง ตรี หรือ จัตวา

ในปัจจุบัน ภาษาเยอได้เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และกลายเป็นภาษาเยอสมัยใหม่ เช่น จะมีบางคำที่เป็นภาษาไทยบ้างเช่น ฮัวใจ (หัวใจ) ภาษาอีสานบ้าง และภาษาที่เรียกสิ่งของที่ไม่เคยมีมาในสมัยโบราณ


วัฒนธรรม

การแต่งตัวของชาวเผ่าเยอ ในดั้งเดิม ผู้ชายใส่เชิ้ตไม่มีคอปก สีกรมท่า กางเกงขายาว สีกรมท่า และมีผ้าขาวม้ามัดเอว ผู้หญิง ใส่เสื้อสีดำเทา ใส่ผ้าไหม (ผ้าถง) สีดำ และสีกรมท่า หรือสีอื่นๆ และมีผ้าไหมพาดผ่านไหล่ซ้ายลงไปบรรจบกัน บริเวน เอวด้านขวา คนเผ่าเยอแท้ทุกคน จะมีสีผิวเหลืองขาว เหมือนจีน

คนเผ่าเยอชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่มๆ เห็นได้จากการปลูกบ้านเป็นกลุ่ม ลักษณะของบ้าน จะเป็นบ้านสองชั้น ใต้ถุนโล่งเพื่อใช้เลี้ยงควาย หรือวัว หลังคาจะทำจากฟางข้าว ผนังหรือกั้นห้อง จะเป็นไม้ใผ่สาน ซึ่งในปัจจุบันไม่มีให้เห็นแล้ว ส่วนเสาและพื้นบ้าน จะเป็นไม้เนื้อแข็งทั่วไป


ประเพณี
ประเพณีและวัฒนธรรมของเผ่าเยอ ได้แก่

บุญข้าวสาก เป็นประเพณีที่มีขึ้นหลังจากการดำนาเสร็จสิ้น ประมาณเดือน สิงหาคม

บุญข้าวจี่ มีขึ้นหลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จ ประมาณเดือน ธันวาคม
นอกจากนี้ยังมีประเพณีอื่นๆ ซึ่ได้รับอิทธิพลจากประเพณีของชาวพื้นถิ่นรอบๆนั้น รวมไปถึง วัฒนธรรมไทยเกือบทั้งหมด


ศาสนา

คนในเผ่าเยอ นับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก และมีความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูบ้าง เช่น การบายศรีสู่ขวัญ การขึ้นบ้านใหม่ การแต่งงาน และอื่นๆ อาจมีบางครอบครัว นับถือผีบ้านหรือผีบรรพบุรุษ และจะมีการรำแถน (รำผีฟ้า) เพื่อบวงสรวง เชื่อกันว่า จะทำให้ลูกหลานอยู่ดีไม่มีโรคเบียดเบียน

สังเกตจากเรื่องอาถรรพณ์ที่ไม่น่าเชื่อ บางคนป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ พาไปหาหมอที่โรงพยาบาล ก็ตรวจไม่พบว่าเป็นโรคอะไรทั้งนั้น คนๆนั้น สบายดีตอนหาหมอ แต่พอตอนอยู่ที่บ้าน กลับป่วยทรุดหนัก ว่ากันว่าบรรพบุรษเป็นผู้กระทำ จึงทำให้มีการรำแถน เพื่อบวงสรวง คนป่วยคนนั้นก็หายวันหายคืน

ผู้ชายที่บวชและสึกออกมาจากบวชเณร จะเรียกนำหน้าชื่อว่า เซียง และผู้ที่ศึกออกมาจากบวชพระ จะเรียกนำหน้าชื่อว่า ญีมอม (ทิศ)

ที่มา
ขอขอบคุณ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

 
 
สาธุการบทความนี้ : 497 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 496 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 16:07:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่3) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากจังหวัดอื่นคือ เป็นดินแดนของหลายเผ่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของอีสาน มีพื่้นที่ประมาณ 8,800,000 ตารางกิโลเมตร ห่่างจากกรุงเทพ 515 กิโลเมตร
(โดยทางรถไฟ) แบ่งการปกครองออกเป็น 22 อำเภอ มีประชากรประมาณ 1 ล้่านกว่าคน และจังหวัดศรีสะเกษ เป็นปัจจันตเขต มีพื้นที่ชายแดนติดกับประเทศเขมร และอยู่ใกล้กับประเทศลาว
สองประเทศนี้เปรียบเหมือนเมืองพี่เมืองน้อง เพราะมีวัฒนธรรมทางภาษาคล้ายคลึงกันกับคนไทยที่อยู่ทางภาคอีสานเรา และไปมาค้าขายติดต่อกันเป็นประจำ ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้จังหวัดศรีสะเกษ มีคนหลายเผ่า..
ได้แก่ ชนเผ่าลาว เผ่าเขมร เผ่าส่วย และสุดท้าย "เผ่าเยอ" (ที่จะพูดถึงในเนื้อหาต่อไป)+++++
ซึ่งแต่ละเผ่ามีลักษณะวัฒนธรรมเป็นของตนเอง มีความสัมพันธ์อย่างกลมกลืน โดยเฉพาะกลุ่มชนคนเผ่าเยอ"บ้านโพนค้อ"

++++ต.โพนค้อ อ.เมือง.ศรีสะเกษ มีทั้งหมด 6 หมู่บ้าน มีประชากรเกือบ 3,000 คน ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษ 10 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 221 ถนนสายศรีสะเกษ-กันทรลักษ์
ชุมชนคน"เผ่าเยอ" ตั้งมาแต่ใดไม่มีหลักฐานยืนยันชัดเจน แต่พอมีเอกสารพอที่จะอ้างอิงได้คือ เอกสารการจัดตั้งวัดของจังหวัดศรีสะเกษตามเอกสารวัดบ้านโพนค้อ ได้รับพระราชทาน"วิสุงคามสีมา"
ลงวันที่ 7 เมษายน พุทธศักราช 2266 แสดงว่า +++หมู่บ้านตั้งมาก่อน พ.ศ.2266 +++
+++กลุ่มคนชนเผ่าเยอ+++ เป็นคนกลุ่มน้อย ถิ่นเดิมของชนเผ่านี้ มีถิ่นฐานเดิมกระจัดกระจายอยู่สองฟากฝั่งของแม่น้ำโขง ทางตอนใต้ของประเทศลาว แถบเมืองอัตปือ แสนปางสาละวัน และจำปาศักดิ์
มี"คนเยอ" อีกส่วนหนึ่งซึ่งอยู่โขงเขตหลวงพระบาง

จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ตามหลักฐานกฏมณเฑียรบาล (พศ.1991) กรมพระยาดำรงราขานุภาพ กล่าวถึงกลุ่มชนคน"เผ่าเยอ" เมืองจามปาหรือจำปา ตามข้อมูลหลักฐานว่าเป็นเมืองจำปาศักดิ์หรือ
นครจำปาศักดิ์ ตามข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ดังที่กล่าวมา พอจะประมวลได้ว่า กลุ่มชนคนเผ่าเยอกลุ่มนี้อพยพเข้ามายังประเทศไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา
+++สาเหตุอาจสันนิษฐานได้ 2 นัยยะ
นัยยะที่1 ประเทศลาวเกิดสงครามภายในประเทศ อพยพภัยสงคราม
นัยยะที่ 2 เกิดทุพภิกขภัย มีความเป็นอยู่แร้นแค้น และเป็นชนกลุ่มน้อย รัฐเลยไม่เคยช่วยเหลือ หรือเกิดจากการไม่ส่งส่วยทุกปีกลัวจะมีโทษทัณฑ์ จึงชวนกันพร้อมหน้ามาพึ่งไทย อพยพหลบภัย มาตามลำน้ำโขง เข้ามายังฝั่งไทยโดยมี(ตามรอยคนเผ่า) คนเผ่าเยอได้ล่องเรือ+++ "ท้าวกะตะศิลา"+++ (หมายเหตุอาจจะเป็นญาติกับคุณสุริยใส กะตะศิลา แกนนำพันธมิตร อันนี้เดาเอาครับ)
และพระยาไกร(น้องชาย) เป็นหัวหน้าล่องเรือมาถึงปากแม่น้ำมูล แล้วแยกย้ายกันไป +++พระยาไกร+++ ล่องเรือไปในสายธารแห่งห้วยสำราญ พบที่ฐานที่น่าอยู่รวมหมู่เหล่าเข้าสู่แดนทางตะวันออกแห่งเมือง
ศรีสะเกษ (นครศรีลำดวน = ขุขันธ์) สร้างบ้าน สร้างเมือง รุ่งเรืองราษฎร์ นามว่า++"ปราสาทเยอ"++ ส่วนพระเชษฐา "ท้าวกะตะศิลา" มุ่งหน้าสู่ตามลำน้ำมูล ถึงบึงโค้งโคก(โคก หมายถึง พื้นที่น้ำท่วมไม่ถึง) จึงตั้งบ้านนี้ว่า " โค้งโคก" หรือ "คงโคก" คือ อำเภอราษีไศลในปัจจุบัน และเยออีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งแยกออกจาก"คงโคก" อพยพมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของราษีไศล ผ่านมาทางบ้านเก่า(บ้านเจียงอี,บ้านพันทา
เลยมาถึงที่ดอนหรือที่โนนแห่งหนึ่ง ซึ่งโนนหมายถึง พื้นทที่ที่สูงกว่าระดับพื้นดินธรรมดา และ ณ ที่โนนแห่งหนึ่ง มีต้นไม้ที่หมู่คนได้เรียกชื่อว่า "ต้นค้อ" ขึ้นอยู่มากมายจึงตั้งชื่อบ้านนี้ว่า "บ้านโนนค้อ" หรือ
"โพนค้อ" จวบจนทุกวันนี้
วัฒนธรรมของชนคนเผ่าเยอ ::: "เยอ" มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง เช่น วัฒนธรรมทางภาษา เยอมีแต่ภาษาพูด ไม่มีภาษาเขียน เคยคิดประดิษฐ์อักษรพร้อมๆกับชนชาติเขมร(ขอม) แต่เพราะกลุ่มชนคนเผ่าเยอ เป็นชนกลุ่มน้อย อาณาจักรของชนเผ่าเยอล่มสลาย ไม่มีประเทศเป็นของตนเอง อักษรตัวหนังสือและการเขียน ขาดระบบการจัดเก็บและถ่ายทอดที่ดี จึงไม่มีตัวหนังสือเขียน ปัจจุบันเหลือแต่ภาษาพูดเช่น "กวยขูนะ
เกิดแซมซายกะเฎือ" แปลว่า คนทุกคนเป็นพี่น้องกัน
วัฒนธรรมการแต่งกาย ::: เยอจะมีการแต่งกายเป็นของตนเอง คือ ผู้ชายจะนุ่งผ้าโสร่งไหม หรือ ผ้าเข็น (เหน็บกะเตียว) เสื้อผ้าไหมเหยียบสีดำย้อมมะเกลือ ผ้าข้าวม้าพาดบ่า ส่วนผู้หญิงนิยมนุ่งซิ่นคั่นไหมคู่กับเสื้อไหมเหยียบสีดำย้อมมะเกลือ พร้อมด้วยผ้าสไบเบี่ยง ปัจจุบันเยอมีการประยุกต์การแต่งกายให้เกิดความสวยงามตามสมัยนิยม
ความเชื่อและจารีตประเพณี ::: ชาวเยอมีความเชื่อเช่นเดียวกับคนอีสานทั่วไป เช่น เชื่อผีสางนางไม้ ผีฟ้า พญาแถน เชื่อผีปู่ตา ผีนาตาแฮก เชื่อบุญ เชื่อบาป เข้าวัดฟังธรรม ยึดฮีตโบราณ คือ แต่งงานต้องสู่ขอ ถือเป็นจารีตประเพณีอันดีงาม ของสังคม ++++ ปัจจุบันคนเยออยู่กระจัดกระจายทั่วไปตามอำเภอต่างๆของจังหวัดศรีสะเกษ เช่น อำเภอเมือก็มีบ้านโพนค้อ บ้านโนนแกด บ้านโนนขมิ้น อำเภอราษีไศล ก็เป็นบ้านคงโคก บ้านหลุบโมก บ้านร่องอโศก บ้านใหญ่ อำเภอศิลาลาด บ้าน กุง บ้านขาม อำเภอพยุห์ บ้านหนองทุ่ม บ้านสำโรงโคเฒ่า อำเภอไพรบึง บ้านปราสาทเยอ
++++คนกลุ่มนี้มักเรียกตนเองว่า " กวยเยอ " และมีคำต่อท้ายว่า "เยอ" เช่น กวยเยอ ,เจาเยอ, มูไฮเจาเยอ, ขวญเจ้ามาเยอ จึงได้เรียกว่า "เยอ" หรือ " กวยเยอ" แปลว่า "คนเยอ"
" เจาเดอแซมซายจาโดย " แปลว่า " มานะพี่น้องกินข้าว"

 
 
สาธุการบทความนี้ : 452 ครั้ง
จากสมาชิก : 3 ครั้ง
จากขาจร : 449 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 16:17:59  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่4) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


อินธิพลทางการเมืองและวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ ของเขมร ได้ขยายเข้าสู่ดินแดนจังหวัดศรีสะเกษ ในสมัยเขมรพระนคร (พุทธศตวรรษที่ 16-18)
การขยายอิทธิพลทางการเมืองของเขมร ในสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ (พ.ศ.๑๕๔๕-๑๕๙๓) พระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ (พ.ศ. ๑๗๒๔-๑๗๖๑)
เป็นสมัยที่ชาวเขมรได้เข้ามาอยู่ในเขตจังหวัดศรีสะเกษ เพราะกษัตริย์เขมรได้เกณฑ์ชาวเขมร จากประเทศเขมรและชาวกวยในเขตอีสานใต้
ให้เป็นผู้สร้าง ปราสาทและสร้างเมืองในเขตอีสาน นอกจากนี้ประชาชนยังถูกบังคับให้สร้างถนนหนทางจากนครธม ไปยังเมืองและประเทศต่าง ๆ
ในเขตอีสานใต้ด้วย ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ได้มีการสร้างปราสาทจำนวนมาก ชาวเขมรที่ถูกเกณฑ์แรงงานจึงได้ตั้งหลักแหล่างอยู่รอบ ๆ
ปราสาทและสร้างเมืองขึ้น เช่น เมืองต่ำ (จังหวัดบุรีรัมย์) และบริเวณอื่น ๆ ทำให้วัฒนธรรมเขมรเข้าสู่อีสานใต้ วัฒนธรรมเขมรได้เข้ามามีอิทธิพล
ในหมู่ชาวกวยในเขตจังหวัดศรีสะเกษ โดยเริ่มจากการที่เมืองกำปงสวายหนีภัยการเมืองเข้ามาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๓บุตรีของออกญาเดโช ได้แต่งงาน
กับชาวเมืองสังขะ ต่อมาเจ้าเมืองสังขะได้ส่งคนเข้ามาปกครองเมืองขุขันธ์ เนื่องจากขณะนั้นเมืองขุขันธ์ไม่มีเจ้าเมือง จึงทำให้วัฒนธรรมเขมรเข้ามามี
อิทธิพลทางตอนใต้ของจังหวัดศรีสะเกษ ในปัจจุบัน และผสมกลมกลืนกับวัฒนธรรมของชาวกวยในบริเวณแถบนี้ มีการนำวัฒนธรรมเข้ามาปฏิบัติ
ในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะวัฒนธรรมด้านภาษาและขนบธรรมเนียมต่าง ๆ เรียกชาวกวย ที่กลายเป็นเขมรว่า “เขมรส่วย” และเรียกกลุ่มชาวกวย
ที่อยู่ใกล้กับลาวที่ยอมรับวัฒนธรรมลาวว่า “ลาวส่วย”

การแต่งกาย
     ลักษณะการแต่งกายของคนพื้นเมืองเขมร ชายแต่งกายด้วยเสื้อคอกลมผ่าหน้า นุ่งโสร่งสีสันต่าง ๆ ผ้าขาวม้าคาดเอวหรือคล้องไหล่ ผ้าขาวม้าที่ใช้ลาย
ขาวดำเล็กกว่าที่คนพื้นเมืองลาวใช้ ส่วนผู้หญิงจะแต่งกายด้วยการนุ่งผ้าถุงลายตั้ง มีเชิงตามขวางสองชั้น ชั้นบนกว้าง ชั้นล่างแคบ ระหว่างรอยต่อคาดด้วย
สีแดง เสื้อดำย้อมด้วยมะเกลือ แขนกระบอกรัดรูป ตามรอยตะเข็บถักด้วยสีต่าง ๆ ชายเสื้อผ่าทั้งสองด้าน ยาวประมาณ ๖ นิ้ว กระดุมทำด้วยเงิน ผ้าคล้องไหล่
มีสีสันต่างๆ ผ้าคล้องคอนิยมหย่อนชายผ้าขาวมาข้างหน้า

ศิลปวัฒนธรรม
- กันตรึม เป็นวงดนตรีพื้นเมืองที่นำทำนองจังหวะ ตีโทนโจ๊ะคะครึม ครึม มาเป็นชี่อวงดนตรี เรียกว่า “กันตรีม” ซึ่งหมายถึงโทนนั่นเอง ทำนองเพลง
ของวงกันตรึมเป็นแม่บทของเพลงพื้นเมือง และการละเล่นพื้นเมืองอื่น ๆ ของชาวเขมร กันตรึมนิยมเล่นในงานมงคลต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน โกนจุก
บวชนาค ตลอดจนงานเทศกาลต่าง ๆ ในสมัยโบราณนั้น งานแต่งงานจะต้องมีวงกันตรึม เล่นกล่อมหอจนถือเป็นประเพณี เครื่องกันตรึม มี โทน ๑ คู่
ปี่อ้อ ๑เลา ปี่ใน ๑ เลา ฉิ่ง ๑ คู่ กรับ ๑ คู่ และฉาบ ๑ คู่ ผู้เล่นโดยทั่วไปมี ๔ คน จะเป็นชายหรือหญิงก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นชาย ส่วนผู้หญิงมีหน้าที่ร้อง
และรำไปตามจังหวะเพลง การแต่งกายตามสบาย หากจะแต่งตามประเพณีนิยมของท้องถิ่นก็ได้ เช่น ผู้ชายใส่เสื้อคอกลม นุ่งผ้าโจงกระเบน ผ้าขาวม้า
คาดเอว ส่วนผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น ใส่เสื้อรัดรูปแขนกระบอก

- ตุ้มโมง เป็นดนตรีพื้นเมืองที่ใช้บรรเลงในงานศพโดยเฉพาะ เครื่องดนตรีมีฆ้องหุ่ย ๑ ใบ เป็นเครื่องดนตรีนำ ชาวเขมรถือว่าเสียงฆ้องหุ่ยเป็นเสียง
แห่งความเศร้าโศก เป็นอัปมงคล ในเรื่องของการตายนั้นจะต้องใช้เสียงฆ้องตี เพื่อบอกให้เพื่อนบ้านรู้และถือว่าเสียงอันเยือกเย็นของฆ้องหุ่ยนั้น อาจจะ
ช่วยนำดวงวิญญาณของผู้ตายขึ้นไปสู่สวรรค์ได้ การตีฆ้องหุ่ย จะตีเป็นระยะเวลานาน นอกจากนี้จะมีกลองเพลขนาดใหญ่ ๑ใบ ปี่ไฉน ๑ เลา ถ้าหาปี่ไฉน
ไม่ได้ก็จะใช้ปี่อ้อแทน แล้วยังมีฆ้องวงอีก ๑ วง ตุ้มโมงนี้มีทำนองการขับร้องเช่นเดียวกับเพลงกันตรึม ผู้เล่นปกติมี ๔ คน คือ คนตีฆ้องหุ่ยและกองเพล
๑ คน คนเป่าปี่ ๑ คน คนตีฆ้องวง ๑ คน คนร้อง ๑ คน การแต่งกายตามสบาย ตามธรรมเนียมนิยมไปงานศพของเขมร

- เจรียง ซันตุจ แปลว่าร้องตกเบ็ด เป็นการร้องเล่นในงานเทศกาลต่างๆ หรืองานบวชนาค ซึ่งส่วนมากจะจัดในงานวัด หนุ่ม ๆ ที่มาร่วมงานจะรวมกัน
เป็นกลุ่มและหาคันเบ็ดมา ๑ คัน เหยื่อใช้ขนมข้าวต้มมัด ผลไม้ ผูกเป็นพวง วิธีการตกเบ็ดนั้น ที่ไหนมีกลุ่มหญิงสาวนั่งรวมกันอยู่กลุ่มหนุ่ม ๆ ก็จะพากัน
ร้องรำทำเพลง ผู้ถือคันเบ็ดเป็นผู้ร้องเพลงเอง ถ้าชอบหญิงสาวคนไหนเหยื่อก็จะหย่อนเบ็ดให้เหยื่อไปอยู่หน้าสาวคนนั้น หากสาวรีบร้บเหยื่อไปก็แสดงว่า
รับรัก หลังจากเสร็จงานแล้วฝ่ายหนุ่มก็จะส่งผู้ใหญ่ไปสู่ขอตามประเพณีต่อไป

- เรือมตรต แปลว่ารำตรุษ ใช้เล่นกันในวันสงกรานต์ เครื่องดนตรีมีโทน ๑ คู่ เป็นหลัก นอกจากนี้ก็มีกันแชร์ ซึ่งได้แก่เครื่องดนตรีให้จังหวะ และมีซอ
๑ คัน ขลุ่ย ๑ เลา กรับ ๑ คู่ และฉิ่ง ๑ คู่ ผู้เล่นไม่มีกำหนดว่าจะเป็นชายหรือหญิง ส่วนการแต่งกายนั้นตามสบาย จะแต่งให้สวยงามหรือตลกก็ได้ ในวงรำนั้น
มีหัวหน้ากลอนเป็นผู้ร้องนำ จะจะบทเก่า ๆ หรือแต่งขึ้นเองก็ได้ เนื้อร้องส่วนใหญ่เป็นบทอวยพรเจ้าของบ้านในวันขึ้นปีใหม่ของไทย ต่อจากนั้นจะเป็น
บทยกย่องชมเชยเจ้าบ้านหรือบทเกี้ยวพาราสี ผู้ที่มีหน้าที่สำคัญในคณะรำตรุษคือหัวหน้าตรุษ ซึ่งเป็นผู้ได้รับความนับถือจากคนในหมู่บ้าน จะเป็นผู้พา
คณะรำตรุษไปตามบ้านเรือนในหมู่บ้าน เมื่อไปถึงบ้านใด ถ้าได้รับเชิญขึ้นบ้าน เจ้าของบ้านจะต้อนรับตามธรรมเนียม ในโอกาสนี้หัวหน้าตรุษก็จะขอ
ให้เจ้าของบ้านช่วยบริจาคเงิน สิ่งของ นำไปบำรุงวัดหรือสาธารณะประโยชน์ในหมู่บ้าน รำตรุษนั้นจะรำอยู่ที่ลานบ้านจนกว่าหัวหน้าตรุษจะลาเจ้าของบ้าน
เดินทางไปบ้านอื่นต่อไป เมื่อร้องรำไปทั่วหมู่บ้านหรือกำหนดไว้แล้วว่าอาจจะเป็นหนึ่งวันหรือหลายวันก็ได้ หัวหน้าตรุษก็จะนำสิ่งของและเงินทองที่ชาวบ้าน
บริจาค ไปให้ผู้หลักผู้ใหญ่หรือถวายเจ้าอาวาส เพื่อนำไปบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อไป

- เรือมอันเร แปลว่า รำสาก สมัยก่อนเรียกว่า ลูตอันเร เล่นกันในวันหยุดสงกรานต์ ซึ่งเรียกว่า “วันต๊อม” ชาวเขมรถือว่าวันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๕ เป็นวัน
ขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ ชาวเขมรจะพากันหยุดงาน ๓ วัน ตั้งแต่วันขึ้น ๑ ค่ำ ถึงวันขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๕ เพื่อพักผ่อนและไปทำบุญที่วัด พอถึง วันขึ้น ๑๔ค่ำ จะมี
พิธีก่อภูเขาทรายตามวัดวาอารามต่าง ๆ ทั่วไป รุ่งขึ้นวันขึ้น ๑๕ค่ำ มีการทำบุญตักบาตร และจาก วันแรม ๑ค่ำ เป็นต้นไป ตามประเพณีให้หยุดงาน ๗ วัน
จึงเป็นการเปิดโอกาสให้หนุ่มสาวที่รักใคร่ชอบพอกันได้พบกันด้วยการละเล่นพื้นบ้าน เครื่องดนตรี  มีโทน ๑ คู่ ปี่อ้อ ๑เลา ปี่ไฉน ๑เลา ซออู้ ขนาดกลาง
๑คัน ตะโพน ๑ใบ ฉิ่ง ๑คู่ กรับ ๑คู่ ฉาบ ๑คู่ ผู้รำไม่จำกัดจำนวน ส่วนผู้เล่นดนตรีปกติมี ๔คน ส่วนการแต่งกาย ในสมัยก่อนไม่พิถีพิถัน แต่งกายตามสบาย
หากจะให้สวยงามก็จะแต่งตามประเพณีนิยมคือ ผู้ชายนุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลมแขนสั้น ผ้าขาวม้าคาดเอว 1 ผืน คล้องคอปล่อยชายไปข้างหลังอีก
๑ผืน ส่วนผู้หญิง จะนุ่งผ้าไหมปูม ภาษาเขมรเรียกว่า “ซัมป๊วตโฮล” เสื้อแขนกระบอก มีผ้าสไบห่าง ๆ พาดทับเสื้ออีกชั้นหนึ่ง นอกจากนั้นยังมีเครื่องประดับ
อื่นๆ อีก

- รำแม่มด ผู้หญิงเริ่มพิธีแสดง ๑คน มีเครื่องบวงสรวง เครื่องเซ่นไหว้ ได้แก่ ดอกไม้ เหล้า ข้าวต้มมัด และเครื่องใช้อื่นๆ มีผู้ร่วมแสดงประมาณ ๑๐คน
ขึ้นไป ผู้ชายเล่นดนตรีประกอบ เครื่องดนตรี มีกลอง แคน ขลุ่ย ฉิ่ง กรับ และพิณ รำแม่มดนิยมเล่นกันในท้องถิ่นอำเภอขุขันธ์ อำเภอขุนหาญ และอำเภอ
กันทรลักษ์ เดิมในอำเภอดังกล่าวนิยมเล่นเจรียง กันตรึม อาไย และกระโน้บติงตอง ในปัจจุบันไม่นิยมเล่นมากนัก และการแสดงเหล่านี้ก็มีวิวัฒนาการ
แตกต่างไปจากเดิม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 922 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 920 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 16:37:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่5) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


สาวเผ่าเขมร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 802 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 802 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 16:41:11  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่6) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


พิธิแซนโดนตา  เมืองขุขันธ์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 403 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 402 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 16:51:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่7) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ส่วย เดิมคนทั่วไปจะเรียกว่า “กวย” “กุย” หรือ “ข่า” หลักฐานจากกฏหมายอยุธยาฉบับ พ.ศ. ๑๙๗๔ได้ระบุว่า พ่อค้าจากดินแดนใกล้เคียงที่เดินทาง
มาค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ อินเดีย มาเลย์ ชานุ (ไทยใหญ่) แกน กวย และอื่น ๆ หลักฐานนี้เป็นหลักฐานชั้นต้นชิ้นแรกที่กล่าวถึงชาวกวย ชาวกวย
เรียกตนเองว่า กวย หรือกุย หรือกูย ตามภาษาพูดของตน และจากหลักฐานในพงศาวดารเมืองละแวก ได้กล่าวถึงกษัตริย์ของเขมร ในช่วงครึ่งหลัง
พุทธศตวรรษที่ ๒๐ว่า ได้ทรงขอให้เจ้ากวยแห่งตะบองขะมุมที่มีเมืองสำคัญทางตอนใต้ของเมืองจำปาศักดิ์ ส่งทหารไปช่วยปราบกบฏ เมื่อกองทัพของ
พระเจ้าธรรมราชแห่งนครธมและเจ้ากวยแห่งตะบองขะมุมได้ปราบกบฏสำเร็จ ประมุขทั้งสองฝ่ายก็ได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ จึงกล่าวได้ว่าชนชาวกวย
เคยมีการปกครองแบบอิสระ เคยส่งทูตมาค้าขายกับราชสำนักอยุธยา ช่วยกษัตริย์เขมรในการปราบกบฏ และอยู่ภายใต้การปกครองของเขมรเรื่อยมา
ชาวกวยได้มีการอพยพไปในพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ดินแดนตอนเหนือของเขมรและตอนใต้ ของลาวอยู่เสมอ เดิมถิ่นฐานของชาวกวยตั้งอยู่ทางตอนเหนือ
ของเมืองกำปงธมในเขมร ต่อมาได้เกิดแผ่นดินไหว ทำให้ชนชาวกวยอพยพขึ้นเหนือเข้าสู่เขตลาวแถบแคว้นจำปาศักดิ์ แต่ต้องประสบภาวะน้ำท่วม
อยู่แทบทุกปี เหตุผลอีกประการหนึ่งคือการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เมื่อเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูรได้สถาปนาอาณาจักรจำปาศักดิ์ขึ้น
(แคว้นจำปาศักดิ์) ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ชาวกวยที่อยู่ในเขตนครจำปาศักดิ์จึงได้อพยพหนีภัยทางการเมือง ข้ามแม่น้ำโขงเข้าสู่ภาคอีสานทาง
แก่งสะพือ ซึ่งเดิมเรียกตามภาษากวยว่า แก่งกระชัยผึด (แก่งงูใหญ่) ในเขตอำเภอโขงเจียม (โพงเจียง-ฝูงช้าง) แล้วแยกกันไปตั้งบ้านเรือนที่บ้าน
นากอนจอ (บ้านนาลูกหมา) ซึ่งปัจจุบันนี้คืออำเภอวารินชำราบ บ้านเจียงอี (บ้านช้างป่วยหรือช้างเจ็บ) ในเขตอำเภอเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน เกี่ยวกับ
ชุมชนหรือหมู่บ้านชาวกวยที่ตั้งหลักแหล่งอยู่ในเขตอีสานใต้ พอสรุปได้ว่าในสมัย สมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) พระยาช้างเผือก
แตกออกจากโรงช้างหนีเข้าป่ามาทางเขตเมือง พิมายด้านตะวันออก พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาได้โปรดเกล้าฯ ให้ทหารออกติดตาม จนถึงเขตชุมชน
ชาวกวย ที่บ้านหนองกุดหวาย บ้านเมืองที บ้านโคกอัจจปะนึง และบ้านดงลำดวน หัวหน้าหมู่บ้านเหล่านี้ คือ เชียงสี เชียงปุม เชียงฆะ ตากะจะ และ
เชียงขัน ตามลำดับป็นญาติพี่น้องกันและไปมาหาสู่กัน อยู่เสมอ แม้จะอยู่ห่างไกลกัน ชาวกวยมีความชำนาญในการเดินป่า และล่าสัตว์ ดังเช่นการ
คล้องช้างซึ่งได้สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน หัวหน้าหมู่บ้านและทหารจึงได้ออกติดตามพระยาช้างเผือกได้  ในเขตเมืองนครจำปาศักดิ์ด้านตะวันตก
ต่อมาหัวหน้าหมู่บ้านดังกล่าว ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “หลวง” และได้เลื่อนเป็น “พระ” พร้อมทั้งยกบ้านขึ้นเป็น “เมือง” บ้านหนองกุดหวายเป็น
เมืองรัตนบุรี ให้หลวงศรีนครเตา เป็นพระศรีนครเตา บ้านคูปะทายเป็นเมืองสุรินทร์ ให้หลวงสุรินทร์ภักดี เป็นพระสุรินทร์ภักดี ศรีณรงค์จางวาง
บ้านโคกอัจจปะนึงเป็นเมืองสังฆะ ให้หลวงเพชร เป็นพระสังฆะบุรี บ้านดงลำดวน เป็นเมืองขุขันธ์ ให้หลวงแก้วสุวรรณ เป็นพระไกรภักดี ศรีนครลำดวน เมืองขุขันธ์อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของเมืองพิมาย และเมืองนครราชสีมาในเวลาต่อมา พระไกรภักดีศรีนครลำดวนซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านดงลำดวน
เล็งเห็นว่าชัยภูมิไม่เหมาะสมเพราะกันดารน้ำ จึงได้อพยพไปบ้านแตระ (บริเวณอำเภอขุขันธ์ปัจจุบัน)เพราะมีน้ำอุดมสมบูรณ์ดี ชุมชนในเขต
หัวเมืองเขมร ป่าดงได้รักษาวัฒนธรรมของตนเอง มีการไปมาหาสู่กันอยู่เสมอ เมื่อชาวเขมรและชาวลาว ได้อพยพเข้ามาตั้งบ้านเรือนอยู่ในเขตนี้
วัฒนธรรมเขมรและชาวลาวจึงค่อยๆ มีอิทธิพลเหนือวัฒนธรรมชาวกวยในเขตจังหวัดศรีสะเกษ ปัจจุบันนี้ พวกส่วยกระจายอยู่ตามพื้นที่อำเภอต่าง ๆ
ในจังหวัดศรีสะเกษ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอน้ำเกลี้ยง อำเภอวังหิน อำเภอกันทรารมย์ อำเภอศรีรัตนะ อำเภอไพรบึง อำเภอขุขันธ์ อำเภอปรางค์กู่
อำเภอห้วยทับทัน เป็นต้น
การแต่งกาย ผู้ชายจะแต่งกายด้วยเสื้อคอกลมผ่าหน้า นุ่งโสร่งสีสันต่าง ๆ หรือกางเกงขาก๊วยสั้น ผ้าขาวม้าคาดเอวหรือคล้องไหล่ ผู้หญิง จะนุ่งผ้าถุง
มีเชิงหรือไม่มี กระดุมทำด้วยเงิน เสื้อแขนกระบอกสีสันต่าง ๆ ผ้าเบี่ยงเป็นผ้าขาวม้าหรือผ้าลายลูกแก้วสีครีมดำ

ศิลปวัฒนธรรม
     ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชาวส่วย ในปัจจุบันมีลักษณะใกล้เคียงกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมชาวไทยอีสานและ
ชาวเขมร อาจแตกต่างจากชาวไทยอีสานบ้าง แต่ไม่เด่นชัดมากนัก ที่เด่นชัดคือมีภาษาพูดและการนับเลขเป็นของตัวเอง แต่ไม่มีอักษรและตัวเลข
ของตนเอง นอกจากนี้ยังมีประเพณียะจั๊วะ (บางหมู่บ้านเรียกว่าผีฟ้าผีแถน)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 410 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 408 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 17:01:19  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่8) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


สาวส่วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 500 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 500 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 17:03:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่9) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


แกลมอพิธิศักดิ์สิทธิ์ของส่วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 888 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 888 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 17:07:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่10)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ชุดชาวส่วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 226 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 226 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 17:42:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่11) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 



ชาวลาว
ชายไทย-ลาว ที่อาศัยอยู่ในหัวเมืองเขมรป่าแดง มีความเกี่ยวเนื่องกับชาวลาวที่อพยพมาอยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๒๑ เป็นต้นมา
และได้เข้ามาอยู่แถบตอนกลางของอีสาน ในปี พ.ศ. ๒๒๖๑ เมื่อกษัตริย์ผู้ปกครองนครจำปาศักดิ์ ได้ส่งจารย์แก้ว (เจ้าแก้วมงคล) มาตั้งเมืองท่ง (เมืองทุ่ง)
พร้อมกับชายฉกรรจ์จำนวน ๓๐๐ คน (รวมทั้งครอบครัวของชายฉกรรจ์) ในเขตอำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดในปัจจุบัน ต่อมาในรัชสมัยพระเจ้า-
กรุงธนบุรี กษัตริย์เวียงจันทน์เกิดขัดแย้งกับพระวอ พระตา เสนาบดีของพระองค์ พระวอ พระตา ได้หาสมัครพรรคพวกหนีมาตั้งอยู่ที่เมืองหนองบัวลำภู
(เขตจังหวัดหนองบัวลำภูปัจจุบัน) ซึ่งขณะนั้นอยู่ในเขตการปกครองของนครเวียงจันทน์ การตั้งบ้านเรือนตามบริเวณทางเหนือของลุ่มแม่น้ำมูล ในเขต
ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นเพียงระยะแรก ๆ ต่อมาจึงมีชาวลาวอพยพมาตั้งบ้านเรือนอยู่ในเขตเมืองรัตนบุรีและเมืองขุขันธ์ทางตอนเหนือ อิทธิพลทางสังคมและ
วัฒนธรรมของลาว จึงได้เข้ามาผสมในหมู่ชาวกวยที่ตั้งบ้านอยู่ใกล้กับชาวลาว หรือที่ชาวลาวได้เข้ามาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน ซึ่งเป็นกระบวนการ
ผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม ที่เกิดจากการที่ชาวลาวได้นำวัฒนธรรมของตนเข้ามาพร้อมกับการเข้ามาอยู่ร่วมกับชาวกวยด้วย  การเกิดเอกลักษณ์ใหม่
ในชาติพันธุ์ของชาวกวยในจังหวัดศรีสะเกษ อาจกล่าวได้ว่าเป็นการผสมกลมกลืนรวมยอดหรือทั้งหมด ซึ่งเกิดขึ้นในส่วนของสังคมและวัฒนธรรมของ
ปัจเจกชนและของกลุ่ม กระบวนการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมดังกล่าว ทำให้ชาวกวยค่อย ๆ ยอมรับวัฒนธรรมของชาวลาว การผสมกลมกลืนทาง
วัฒนธรรมจึงเป็นกระบวนการที่ละเอียดอ่อน ขึ้นอยู่กับกระบวนการในการปรับตัวของชาวท้องถิ่นนั้น ๆ

บ้านเรือน
     บ้านเรือนของชาวลาวมีลักษณะการก่อสร้างเหมือนกับบ้านเรือนของชาวไทยอีสานทั่ว ๆ ไป คือ ลักษณะตัวบ้านทั้งหลังสร้างด้วยไม้ หลังคามุงด้วย
กระเบื้องไม้ มีห้องขนาดใหญ่ นอนรวมกันทั้งครอบครัว

การแต่งกาย
     ผู้ชายแต่งกายด้วยกางเกงผ้าฝ้ายขากระบอก เสื้อผ้าฝ้ายคอกลม ผ้าขาวม้าคาดเอว ส่วนผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น เสื้อแขนกระบอกคอกลมหรือกระโจมอก

ศิลปวัฒนธรรม
- ฟ้อนกลองตุ้ม เป็นศิลปะการฟ้อนรำพื้นเมืองตามหมู่บ้านต่าง ๆ ของอำเภอกันทรารมย์ อำเภอกันทรารมย์เป็นอำเภอเดียวของจังหวัดศรีสะเกษ
ที่มีการแสดงการฟ้อนกลองตุ้ม การฟ้อนรำชนิดนี้จะเป็นการแสดงของชาวจังหวัดยโสธรและจังหวัดอุบลราชธานี ชาวบ้านจะทอเครื่องแต่งกายและ
ฝึกฟ้อนรำกันเอง หญิงชายจะฟ้อนเป็นคู่ไม่จำกัดจำนวน การฟ้อนจะฟ้อนถอยหลัง ใช้ประกอบขบวนแห่บั้งไฟ (ขบวนเซิ้งบั้งไฟ) ในเดือน ๖ ของทุกปี ดนตรีที่ใช้มีกลองตุ้มและพวงฮาด

- ฟ้อนงูกินเขียด เป็นการฟ้อนรำอิสระ ผู้ฟ้อนไม่ว่าหญิงหรือชาย หนุ่มสาวหรือเด็ก ๆ จะเกาะเอวต่อกันเหมือนงูกินหาง ไม่จำกัดจำนวน การฟ้อนรำ
ไม่กำหนดท่าฟ้อนแน่นอน ผู้รำถือไต้หรือคบไฟ เดินคดเคี้ยวไปมาและร้องโต้ตอบกันอย่างสนุนกสนาน การฟ้อนรำชนิดนี้นิยมเล่นกันตอนพลบค่ำ
หลังจากเสร็จสิ้นขบวนแห่บั้งไฟแล้ว

- มโหรีชาวบ้าน มีผู้เล่นประมาณ ๕-๑๐คน ดนตรีที่ใช้มีซออู้ ซอด้วง ปี่ ขลุ่ย กลองตุ้ม ฉิ่ง ฉาบ และกรับ ในการบรรเลงมีปี่เดินทำนอง ดนตรีอื่น
ประกอบและให้จังหวะ อาจนั่งเล่นเป็นวงหรือเดินแห่เหมือนขบวนพาเหรดก็ได้ นิยมเล่นในท้องถิ่นอำเภออุทุมพรพิสัย

- วงปี่พาทย์และมโหรี มีทั้งปี่พาทย์เครื่อง ๕และเครื่อง ๗และอาจผสมเป็นวงมโหรีได้ด้วย มีลีลาการบรรเลงเพลงไทยไพเราะ แต่มีลีลาผสมแบบ
พื้นเมืองอยู่ด้วย วงปี่พาทย์นี้นิยมเล่นโขนของชาวอำเภอขุขันธ์

- หนังตะลุง ชาวบ้านเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า หนังปราโมทัย มีที่บ้านเพียมาต อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ตัวหนังย้อมสีสันสวยงาม การเล่นมีบท
ไหว้ครู มีบทร้องพากย์ มีดนตรีประกอบ มีตลกแบบอีสานเข้าผสมผสานด้วย

- หมอลำแคน จังหวัดศรีสะเกษเป็นเขตกันชนระหว่างวัฒนธรรมอีสานเหนือกับอีสานใต้ จึงมีศิลปะการแสดงประเภทหมอลำรวมอยู่ด้วย มีทั้งหมอลำคู่
หมอลำหมู่ หมอลำชิงชู้ หมอลำเพลิน และหมอลำประเภทอื่น ๆ เช่น เกี่ยวกับการแสดงหมอลำของเขตอีสานเหนือ หมอลำนี้จะมีในท้องถิ่นที่มีชาวลาว
อาศัยอยู่ เช่น อำเภอกันทราราย์ อำเภอเมือง เป็นต้น

- บายศรีสู่ขวัญ จัดว่าเป็นพิธีมีเกียรติยิ่ง เป็นการเรียกขวัญต้อนรับหรืออวยชัยให้พรแก่ผู้ที่ควรเคารพหรือคู่แต่งงาน หรือในโอกาสที่บุคคลภายในบ้าน
ได้รับราชการ ได้เป็นเจ้าคนนายคน หรือได้รับตำแหน่งสูงขึ้น เครื่องบายศรีทำด้วยใบตองเย็บเป็นเชิง แซมด้วยดอกไม้ต่าง ๆ พร้อมทั้งธูปเทียนบนโตก
หรือพาน มีด้ายสายสิญจน์ใส่พาน พร้อมด้วยเหล้า ๑ ขวด ไก่ต้ม ๑ ตัว ไข่ต้ม ๑ ฟอง เมื่อผู้รับบายศรีมานั่งพร้อมเพรียงกันแล้ว พราหมณ์ก็จะสวดเรียกขวัญ
ให้ศีลให้พร แล้วก็มีการผูกข้อมือเช่นเดียวกับบายศรีแต่งงาน

- ประเพณีลงแขก เรียกว่า วานหรือขอแรง ประเพณีนี้มีมานานแล้ว ปัจจุบันนี้ยังคงมีอยู่ เช่น ขอแรงเกี่ยวข้าว นวดข้าว ช่วยปลูกสร้างบ้านเรือน
เป็นต้น เมื่อใครจะมีการทำงานดังกล่าวแล้ว ก็จะเที่ยวบอกขอแรงแก่บรรดามิตรสหายหรือญาติพี่น้องให้ช่วย มีธรรมเนียมประเพณีอยู่ว่า เมื่อเจ้าภาพ
ออกปากไหว้วานแล้ว ชาวบ้านใกล้เคียงก็จะรีบเป็นธุระมาช่วยกันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตากันทันที ทั้งนี้เจ้าภาพไม่ต้องเสียค่าจ้างหรือค่าแรงงาน
แต่อย่างใด แต่เจ้าภาพจะต้องหาสุรา และอาหารไว้รับรองเลี้ยงแขกให้เต็มที่เท่านั้น

- ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประเพณีอย่างหนึ่ง ซึ่งถือเป็นพิธีขอฝน เป็นการทำบุญประจำปี การทำบุญบั้งไฟนี้ ตำบลหรือหมู่บ้านที่เป็นศูนย์กลางหรือ
เจ้าภาพ จะมีการแจ้งฎีกาไปยังหมู่บ้านข้างเคียง บอกกำหนดการทำบุญ หมู่บ้านที่ได้รับฎีกาก็จะจัดทำบั้งไฟ โดยเจ้าอาวาสวัดเป็นหัวหน้าจัดหาช่างที่
ชำนาญมาผสมดินประสิวสำหรับทำบั้งไฟ บั้งไฟมี ๓ขนาด คือ บั้งไฟธรรมดา มีน้ำหนักดินประสิวไม่เกิน ๑๒กิโลกรัม บั้งไฟหมื่น มีน้ำหนักดินประสิว
เกิน ๑๒กิโลกรัมขึ้นไป (๑หมื่นเท่ากับ ๑๒กิโลกรัม) และบั้งไฟแสน มีน้ำหนักดินประสิว ๑๒๐กิโลกรัมขึ้นไป ต้องใช้เวลาทำประมาณ ๑เดือน เมื่อทำ
บั้งไฟ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะมีการตกแต่งประดับประดาด้วยกระดาษสีสันสวยงาม เมื่อถึงวันนัดรวม ซึ่งตามภาษาชาวบ้านเรียกว่า “วันโฮม” หมู่บ้าน
ต่าง ๆ ก็จะแห่บั้งไฟของตนมายังหมู่บ้านที่แจ้งฎีกา โดยไปให้ถึงก่อนเพล แล้วร่วมกันทำบุญเลี้ยงพระก่อน ตอนบ่ายมีการแห่เซิ้งรวมกันทุกหมู่บ้าน
ไปรอบ ๆ หมู่บ้าน และชาวบ้านเจ้าภาพนั้นก็จะต้อนรับขบวนแห่เซิ้งด้วยเหล้า ตอนเย็นก็จะนำไปรวมกัน มีมหรสพฉลอง เช่น หมอลำและฟังเทศน์
รุ่งเช้าก็แห่ไปยังฐานที่จุดบั้งไฟ ซึ่งอยู่นอกหมู่บ้าน การจุด ถ้าเป็นบั้งไฟหมื่นลงมาก็จะขึ้นไปจุดเลย ถ้าเป็นบั้งไฟแสน ก็จะใช้บั้งไฟม้าขึ้นไปจุดชนวน
เพราะเกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่ผู้จุด ถ้าบั้งไฟขึ้นสูงและขึ้นกันเป็นส่วนใหญ่ก็จะเป็นเครื่องพยากรณ์ว่า ฝนฟ้าในปีนี้จะดี ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์
ถ้าบั้งไฟหมู่บ้านใดไม่ขึ้นหรือขึ้นไม่สูง คณะผู้จัดทำต้องถูกจับโยนลงน้ำหรือโคลน หรือถูกปรับไหมด้วยเหล้าและนำไปเลี้ยงกันเป็นที่สนุกสนาน

- รำผีฟ้า เป็นการแสดงท่าทางฟ้อนรำประกอบพิธีกรรมโบราณของชาวอีสาน ซึ่งมีหลงเหลืออยู่บ้างในปัจจุบัน พิธีกรรมมีจุดมุ่งหมายคือเป็นการรักษา
คนป่วยแบบโบราณ รำผีฟ้าเป็นการรำที่แสดงออกซึ่งความเชื่ออย่างหนึ่งของคนอีสาน จึงไม่ใช่การละเล่นหรือการแสดงเพื่อความสนุกสนานบันเทิงใจ
ตามที่ปรากฏอยู่ทั่วไป แต่เป็นการรำเพื่อบูชาเทพเจ้าที่ชาวอีสานเคารพนับถือ ชาวอีสานเชื่อกันว่า พระยาแถนเป็นผู้สร้างมนุษย์ให้เกิดมาและควบคุม
ความเป็นไปของมนุษย์ทุกอย่างเมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย จึงเชื่อกันว่าเกิดจากการดลบันดาลของพระยาแถน ชาวอีสานนิยมทำพิธีอ้อนวอนให้พระองค์
โปรดปรานคนป่วย ผู้ทำพิธีนี้ คือหมอลำผีฟ้า หมอลำผีฟ้าจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อกับพระยาแถนและญาติผู้ป่วยหรือผู้ป่วย ผู้ที่เป็นหมอลำผีฟ้า
อาจจะเป็นหญิงสาวหรือหญิงชรา ซึ่งจะต้องมีความสามารถในการ “รำ” ด้วย เพราะการรำนั้นเป็นวิธีการติดต่อสื่อสารกับพระยาแถน โดยจะต้องมีหมอแคน
เป่าแคนประกอบทำนองรำของหมอลำผีฟ้า ข้อความในการรำนั้นจะเป็นการบูชาพระยาแถน ขอความอนุเคราะห์ให้ช่วยรักษาคนเจ็บ เมื่อติดต่อแล้ว
ก็จะมีการออกท่าทางฟ้อนรำ เรียกการฟ้อนรำนั้นว่า “รำผีฟ้า” การออกท่าทางฟ้อนรำ นอกจากหมอผีจะเป็นผู้ฟ้อนรำแล้ว บางทีก็มีบริวารของหมอลำผีฟ้า
ร่วมฟ้อนรำด้วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 229 ครั้ง
จากสมาชิก : 2 ครั้ง
จากขาจร : 227 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 17:56:15  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่12) สถานที่ท่องเที่ยวแถวบ้านครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ปราสาทบ้านปราสาท   อ.ห้วยทับทัน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 187 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 187 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:27:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่13) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


หลุมขุดค้นโครงกระดูกสมัยประวัติศาสตร์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 197 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 197 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:28:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่14) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ปราสาทบ้นเมืองจันทร์   ศิลปะแบบล้านช้างคล้ายกับปราสาทบ้านปราสาทเชื่อว่าเป็นที่บรรจุอัฐิของเจ้าเมืองหรือเจ้านายในอดีต

 
 
สาธุการบทความนี้ : 238 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 238 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:30:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่15) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ปราสาทบ้านปราสาทเดิมทีเป็นเทวาลัยในสมัยขอมจากหลักฐานที่ค้นพบมีท่อโสมสูตรคือท่อที่ใช้ระบายน้ำออกจากเทวาลัย  และได้มีการปรับเปลี่ยนเป็นปราสาทที่เห็นในปัจจุบันภายหลัง(ศิลปะแบบล้านช้าง)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 226 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 226 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:38:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่16) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


สิมวัดบ้านเมืองจันทร์  ภายในมีใบเสมาอยู่เป็นกลุ่มๆ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 248 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 248 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:40:53  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่17) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ศรีพฤทเธศวรหรือปราสาทสระกำแพงใหญ๋

 
 
สาธุการบทความนี้ : 333 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 333 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:42:16  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่18) สถานที่ท่องเที่ยวแถวบ้านครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ปราสาทสระกำแพงใหญ่

 
 
สาธุการบทความนี้ : 269 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 269 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:54:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่19) สถานที่ท่องเที่ยวแถวบ้านครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


พระพุทธรูปนาคปรกขุดเจอภายในปราสาทเป็นพระพุทธรูปที่ศํกดิ์สิทธิ์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 215 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 215 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 18:57:30  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่20) สถานที่ท่องเที่ยวแถวบ้านครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


เทวรูปในปราสาท

 
 
สาธุการบทความนี้ : 243 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 243 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 19:03:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่21) สถานที่ท่องเที่ยวแถวบ้านครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ร่างของหลวงปู่เครื่องหรือพระมงคลวุฒิ(เทพเจ้าเเห่งเเดนดอกลำดวน)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 248 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 248 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 19:10:23  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่22) สถานที่ท่องเที่ยวแถวบ้านครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ปราสาทสระกำแพงน้อย1ในอโรคยาศาลาในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่7(ศาลาพักหรือโรงพยาบาล)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 235 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 235 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 19:13:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่23) สถานที่ท่องเที่ยวแถวบ้านครับ      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


กู่สมบูรพ์เทวาลัยในศาสนาพราหมณ์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 211 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 211 ครั้ง
 
 
  25 ธ.ค. 2552 เวลา 19:15:51  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่27)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
ใช่แล้วคับ อ้ายโอ๊ต ต้องขออภัยด้วย

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  08 ม.ค. 2553 เวลา 00:31:08  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่28)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


เกาะกลางน้ำจังหวัดศรีสะเกษ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 280 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 280 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:06:45  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่29)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


เกาะกลางน้ำ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 327 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 327 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:07:58  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่30)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


อีกรูปครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 259 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 259 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:08:54  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่31)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


อีก

 
 
สาธุการบทความนี้ : 236 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 236 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:11:18  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่32)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ชุดสี่เผ่าไทศรีเกษอย่างถืกต้องครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 177 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 177 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:12:57  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่33)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 
ส่วย   เขมร   ลาว  เยอ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 0 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 0 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:13:20  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่34)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


สวนสมเด็จฯสีเกด

 
 
สาธุการบทความนี้ : 274 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 274 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:17:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่35)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


นี่กะสี่เผ่าไทสีเกดคือกัน

 
 
สาธุการบทความนี้ : 243 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 243 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:18:45  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่36)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


สาวส่วยรำแกลมอ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 261 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 261 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:24:42  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่37)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


อัปสราแห่งศรีพฤทเธศวรของแท้(โรงเรียนกำแพงของผมเองครับ)

 
 
สาธุการบทความนี้ : 201 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 201 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:30:31  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่38)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


นางรำ ร.ร.กำแพง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 207 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 207 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:33:56  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่39)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


สงขารหลวงปู่เครื่อง  สุภัทโท

 
 
สาธุการบทความนี้ : 271 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 271 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:34:47  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่40)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ศรีพฤทเธศวร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 170 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 170 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:35:32  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่41)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ศรีพฤทเธศวร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 178 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 178 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:36:13  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่42)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ศรีพฤทเธศวร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 162 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 162 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:36:47  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่43)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


ศรีพฤทเธศวร

 
 
สาธุการบทความนี้ : 185 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 185 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:37:25  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   792) สี่เผ่าไทศรีสะเกษ  
  บ่าวศรีพฤทเธศวร    คห.ที่44)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์พี่

ภูมิลำเนา : ศรีสะเกษ
เข้าร่วม : 26 ต.ค. 2552
รวมโพสต์ : 86
ให้สาธุการ : 105
รับสาธุการ : 194940
รวม: 195045 สาธุการ

 


แนมลอดหน้าต่าง

 
 
สาธุการบทความนี้ : 184 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 184 ครั้ง
 
 
  10 ม.ค. 2553 เวลา 11:38:06  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1 2

   

Creative Commons License
สี่เผ่าไทศรีสะเกษ --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ