ผญา คติสอนใจประจำวันที่ 12 พฤษภาคม 2568:: อ่านผญา 
ให้เจ้าค่อยเพียรสร้าง เสมอแตนแปงซ่อ ให้สร้างก่อสืบไว้ เสมอเผิ้งสืบฮัง แปลว่า ให้พากเพียรสร้างทำ ประหนึ่งแตนทำรัง ประหนึ่งผึ้งสร้างรัง หมายถึง ขอให้ขยันหมั่นเพียร รู้จักเก็บ รู้จักออม


  ค้นหาสาธุการ กระดานสนทนาชมรมอีสานจุฬาฯ  

หน้า: 1  
  โพสต์โดย   1244) การทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อ. หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่4)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


ทำโปงลางครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 385 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 385 ครั้ง
 
 
  01 พ.ค. 2555 เวลา 21:17:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1244) การทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อ. หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่6)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


ทำกลองครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 369 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 369 ครั้ง
 
 
  01 พ.ค. 2555 เวลา 21:17:48  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1244) การทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อ. หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่0) การทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อ. หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 
การผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้าน   อำเภอหนองพอก  จังหวัดร้อยเอ็ด
โดย  นายชัชวาลย์  ประทุมสินธุ์  นิสิตปริญญาโท  สาขาวิชาดุริยางคศิลป์  รุ่นที่ 4  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
………………………………………………………………………………………………………………
ดนตรีพื้นบ้านอีสานเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนอีสานมานานเท่านานซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนและบอกถึงวิถีชีวิตของความเป็นคนอีสานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  จากการละเล่นเพื่อการผ่อนคลายจากการทำไร่ทำนาพัฒนามาสู่การละเล่นที่มีการผสมผสานกันอย่างลงตัวของเครื่องดนตรีอีสานไม่ว่าจะเป็นแคน  โปงลาง  โหวด พิณ และเครื่องดนตรีที่ให้จังหวะนั่นคือกลอง ซึ่งบรรพบุรุษของชาวอีสานได้คิดค้นขึ้นมาและได้มีการพัฒนาเรื่อย  ๆ จนถึงปัจจุบัน  จากเครื่องดนตรีที่ทำขึ้นแบบไม่ละเอียดนักทำขึ้นเพียงแค่ได้เล่นสนุกสนานเท่านั้นได้มีการวิวัฒนาการมาเป็นการผลิตเพื่อการค้าขายซึ่งในปัจจุบันนี้มีผู้ที่ผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานมากมายหลายที่ซึ่งแต่ละที่นั้นก็มีรูปแบบและเทคนิคในการผลิตที่แตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมและตามความรู้เดิมที่ผู้ผลิตเองได้เรียนรู้มาจากบรรพบุรุษของตนเอง  แต่สิ่งหนึ่งที่ช่างผู้ผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานเหล่านั้นไม่เคยลืมเลยนั่นคือคำว่าความเป็นมรดกอันล้ำค่าของคนอีสานซึ่งเราที่ได้ชื่อว่าเป็นอีสานไม่เคยลืมเลือนไปจากสายเลือดและยังมีความรักและหวงแหนวัฒนธรรมอันล้ำค่าเหล่านี้อยู่เสมอ
เช่นเดียวกันกับกลุ่มผู้ผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานอำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ก็เป็นอีกหนึ่งกลุ่มที่ยังมีความรักและหวงแหนสิ่งที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่านี้อยู่เสมอ  ซึ่งในปัจจุบันนี้เครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานที่มีการใช้เล่นในวงดนตรีหรือใช้ในการแข่งขันในระดับต่าง ๆ จะปฏิเสธไม่ได้เลยว่าส่วนหนึ่งนั่นคือเครื่องดนตรีจากอำเภอหนองพอก  จังหวัดร้อยเอ็ด  นั่นก็หมายความว่าการผลิตที่ได้มาตรฐานบวกกับความรักในศิลปะการแสดงดนตรีพื้นบ้านทำให้เครื่องดนตรีที่ผลิตจากอำเภอหนองพอกได้รับความนิยมจากผู้ที่ทำวงดนตรีพื้นบ้านจากทุกที่ทั่วประเทศไทย  ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้คณะผู้ศึกษาข้อมูลซึ่งประกอบด้วย นิสิตปริญญาโท  วิชาเอกดุริยางคศิลป์ รุ่นที่ 4   มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการก่อตั้งกลุ่มผลิตเครื่องดนตรี เทคนิคในการผลิต และ สะภาพปัญหาที่เกิดจากการผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานของกลุ่มผลิตเครื่องดนตรี อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งคณะผู้ศึกษามีรายละเอียดในการนำเสนอแยกเป็นหัวข้อต่าง ๆ  ซึ่งคณะผู้ที่ทำการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่ต้องการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตเครื่องดนตรี  อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด หากมีข้อเสนอแนะใดๆ คณะผู้ที่ทำการศึกษาข้อมูลขอน้อมรับคำแนะนำด้วยความเต็มใจ

                                                                                                    ชัชวาลย์  ประทุมสินธุ์
         นิสิตปริญญาโท รุ่นที่ 4
สาขาวิชา  ดุริยางคศิลป์  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 
 
สาธุการบทความนี้ : 348 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 347 ครั้ง
 
 
  25 เม.ย. 2555 เวลา 17:43:22  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1244) การทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อ. หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่7)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


ผู้เชี่ยวชาญ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 323 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 323 ครั้ง
 
 
  01 พ.ค. 2555 เวลา 21:18:14  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1244) การทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อ. หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่3)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


ถ้ามีความสนใจในข้อมูลวิธีการผลิตเครื่องดนตรีของ อ.หนองพอกจริงๆ เชิญแวะไปได้เลยครับท่านจะไม่ได้เห็นแค่การผลิตเครื่องดนตรีแต่ท่านจะได้รับความรู้เกี่ยวกับวงดนตรีพื้นบ้านอีกมากมาย  จากผู้ที่เชี่ยวชาญโดยตรง
แต่ เพื่อไม้่ไห้เสียโอกาศฝากรูปให้ได้ชมบ้างเล็กน้อยนะครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 297 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 297 ครั้ง
 
 
  01 พ.ค. 2555 เวลา 21:12:34  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1255) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่0) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


โหวดเสียงทองเพชรส่งเสริม  โดยการนำของอาจารย์ทรงศักดิ์  ประทุมสินธุ์

 
 
สาธุการบทความนี้ : 293 ครั้ง
จากสมาชิก : 1 ครั้ง
จากขาจร : 292 ครั้ง
 
 
  19 มิ.ย. 2555 เวลา 23:05:10  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1244) การทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อ. หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่5)       [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


ทำพืณครับ

 
 
สาธุการบทความนี้ : 285 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 285 ครั้ง
 
 
  01 พ.ค. 2555 เวลา 21:17:24  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1255) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่2) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


ในอดีตจะใช้ไหเล่นแทนเสียงเบส มีแค่ 2 เสียง ซึงยุคแรกประมาณปี พ.ศ. 2511-2524 วงโหวดเสียงทองจะเทียบเสียงเครื่องดนตรีทุกชิ้นโดยแคนเป็นหลัก ซึ่งเป็นคีย์ บีไมเนอร์ ไหตั้ง 2 เสียงคือ ใบเล็กเป็นเสียง F# ใบใหญ่เป็นเสียง B

 
 
สาธุการบทความนี้ : 284 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 284 ครั้ง
 
 
  19 มิ.ย. 2555 เวลา 23:21:50  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1255) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่3) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


นางรำสาวเมื่อ 30 ปี ที่แล้ว

 
 
สาธุการบทความนี้ : 277 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 277 ครั้ง
 
 
  19 มิ.ย. 2555 เวลา 23:23:28  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  โพสต์โดย   1255) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด  
  tuk    คห.ที่1) ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด      [ไปที่ความเห็นนี้ ในกระทู้นี้]  
  ศิษย์น้องเล็ก

ภูมิลำเนา : ร้อยเอ็ด
เข้าร่วม : 24 ส.ค. 2554
รวมโพสต์ : 12
ให้สาธุการ : 0
รับสาธุการ : 31270
รวม: 31270 สาธุการ

 


รูปแบบการบรรเลงในอดีต

 
 
สาธุการบทความนี้ : 262 ครั้ง
จากสมาชิก : 0 ครั้ง
จากขาจร : 262 ครั้ง
 
 
  19 มิ.ย. 2555 เวลา 23:14:01  
   ขึ้นบน ลงล่าง  
 
         

  หน้า: 1

   

Creative Commons License
ต้นแบบวงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง)เมืองร้อยเอ็ด --- เว็บบอร์ดอีสานจุฬาฯ